Page 92 - kpi20366
P. 92

4.  การตีความโดยพิจารณาจากบริบทของผู้ผลิต

                   5.  การตีความว่าผู้รับคือใคร


                   ในส่วนของทักษะการตีความเพื่อประเมินวัตถุประสงค์ของผู้ผลิตเป็นความรู้ในระดับมหาวิทยาลัย
               ซึ่งระบบการศึกษาของไทยในระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายยังไม่มีการสอนทักษะดังกล่าว รวมถึงไม่

               ค่อยมีการส่งเสริมให้เยาวชนอ่านวรรณกรรมหรือหนังสือที่เกี่ยวข้องเพื่อฝึกทักษะการตีความ


               การส่งข้อมูลออก


                       ปัญหาของการผลิตสื่อ


                       ปัญหาที่มักพบในด้านการสื่อสารและการผลิตสื่อ คือ สังคมไม่สามารถคาดหวังได้ว่าผู้ผลิต

               สามารถค านึงถึงความถูกต้อง และความเหมาะสมของเนื้อหาที่ผลิต ดังนั้นในปัจจุบันจึงมักมีการน า
               ประเด็นที่ผู้คนสนใจมาขยายความ (ใส่สีตีไข่) เพื่อท าให้กลายเป็นกระแส ปัญหาที่ตามมาคือข้อมูลที่ผลิต

               ขึ้นกลายเป็นขยะข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลในปัจจุบันมีทั้งสิ่งที่เป็นความจริงและไม่เป็นความจริง เกิดปัญหา

               การกลั่นกรองและการเลือกรับข้อมูลที่เป็นเรื่องจริงจนน าไปสู่การหลงเชื่อในกลุ่มเด็กและเยาวชนในที่สุด


                       แนวทางในการมีส่วนร่วมในการผลิตสื่ออย่างสร้างสรรค์

                       ส าหรับการมีส่วนร่วมในการผลิตสื่ออย่างสร้างสรรค์ ผู้ผลิตควรค านึงถึงประโยชน์ที่สังคมจะรับ

               ได้จากเนื้อหาที่ผลิต เช่น เนื้อหาที่น าไปสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ หรือเนื้อหาที่น าไปสู่การเสริมสร้าง
               องค์ความรู้ให้กับประชาชน เนื้อหาที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเท่าเทียมในสังคม สิทธิ
               เสรีภาพ และการมีส่วนร่วมทางการเมือง อย่างการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง และการมีส่วนร่วมทางสังคม

               เป็นต้น เพื่อให้เกิดความตระหนักถึงสิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบ ในฐานะพลเมืองในสังคม

               ประชาธิปไตย

               2. ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ/ผู้แทนจากหน่วยงานที่ 2


                       ปัจจุบันสื่อมีความพยายามในการบิดเบือนข้อมูลเพื่อเอื้อต่อประโยชน์ทางการเมือง เช่น ปัญหา

               การให้นิยามความหมายของค า ที่อาจน าไปสู่การตีความที่ผิด เช่น ค าว่า “E-sport” ซึ่งเป็นค าที่ใช้เรียก

               การเล่มวิดีโอเกมว่าเป็นกีฬาประเภทหนึ่ง ซึ่งโดยทั่วไปนิยามความหมายของกีฬามีความแตกต่างกัน

               ออกไป ค าว่า กีฬา มีค านิยามที่ชัดเจนอยู่แล้ว ที่ส าคัญคือการน าค านี้มาใช้อาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
               ต่อเด็กและผู้ปกครอง เนื่องจากที่ผ่านมากรมสุขภาพจิตออกมาต่อต้าน เนื่องจากมีหลักฐานที่น่าเชื่อถือ

               บ่งชี้ว่า E-sport ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ดังนั้นการปรับเปลี่ยนค าจ ากัดความจึงเป็นการสร้างวาทกรรม

               ให้กับผลิตภัณฑ์เพื่อหวังผลทางธุรกิจ และเพื่อท าให้ผู้ปกครองรู้สึกสบายใจ อย่างไรก็ตามการสื่อสารที่มี

               การสร้างค าเพื่อบิดเบือนข้อเท็จจริงเป็นสิ่งที่พบเห็นได้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน





                                                           83
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97