Page 91 - kpi20366
P. 91

จึงน ามาสู่ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์และประเมิน เนื่องจากการยึดคุณค่าบางอย่างก่อให้เกิด

               “อคติในเชิงการเมือง” (political bias) ท าให้ไม่น าไปสู่การมองอย่างเป็นกลางเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล และ

               เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง  แต่การมีอคติกลับน าไปสู่การเอียงข้างตามคุณค่าที่ตนยึดถือ ดังนั้นเยาวชน

               จึงมีแนวโน้มในการวิเคราะห์ ประเมินผล และชั่งน ้าหนักข้อมูลตามความเชื่อ คุณค่า และทัศนคติของแต่
               ละคน ไม่ได้มองโลกอย่างเป็นกลาง ท าให้ทักษะการวิเคราะห์ วิพากษ์ในเชิงการเมืองในกลุ่มเยาวชนมัก

               เอียงข้าง ทักษะการรู้เท่าทันสื่อมักเกิดปัญหา



                       ปัญหาอีกประการหนึ่งคือเด็กและเยาวชนยังไม่เข้าใจว่าการเมืองการปกครองในระบอบ
               ประชาธิปไตยมีความส าคัญต่อตนเองและสังคมอย่างไร การไม่เข้าใจและมองข้ามความส าคัญของการ

               ปกครองในระบอบประชาธิปไตยท าให้การเติบโตไปเป็นเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยของเยาวชน

               ประสบปัญหา เนื่องจากเยาวชนขาดทักษะ ความเข้าใจ และความรู้เกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ

               การยอมรับในความแตกต่างหลากหลาย การมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และอื่นๆ เยาวชนจึงมี

               แนวโน้มที่จะอยู่ในโลกของอุดมคติและใช้อุดมคติหรือคุณค่าที่ถือไว้เป็นตัวก าหนดความคิด ค่านิยมและ

               พฤติกรรม ซึ่งปัญหาการไม่เข้าใจความส าคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่เป็นปัจจัย

               ส าคัญในการก าหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยที่กลายเป็นอุปสรรคในการเสริมสร้าง
               การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งในระบอบประชาธิปไตย



                       การรู้เท่าทันสื่อออนไลน์นอกจากจะครอบคลุมมิติของความเป็นพลเมืองแล้วยังครอบคลุม มิติ

               ทางการศึกษา ความสามารถหรือทักษะด้านการวิพากษ์ ซึ่งเป็นทักษะที่ส าคัญในการเข้าใจโลกใน
               ปัจจุบัน นอกจากนี้กระบวนการเรียนรู้เพื่อเก็บสั่งสมประสบการณ์ที่หล่นหายไปจากระบบการเรียนการ

               สอนเป็นตัวสะท้อนถึงค่านิยมของสังคมที่มุ่งสร้างวัฒนธรรมที่แสวงหาผลลัพธ์มากกว่าประสบการณ์จาก

               การลงมือท า ซึ่งประสบการณ์คือสิ่งส าคัญในกระบวนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่สามารถน าไปปรับ

               ใช้ในการท างาน และยังเป็นฐานที่สามารถช่วยสร้างทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ผ่านการคิด วิเคราะห์ ทบทวน

               อย่างมีเหตุมีผลซึ่งเป็นรากฐานส าคัญอย่างหนึ่งส าหรับการเติบโตเพื่อเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งในระบอบ

               ประชาธิปไตย


                       ในส่วนของการประเมินวัตถุประสงค์ของผู้ผลิตผ่านการตีความความหมายของข้อมูลต่างๆ

               ประกอบด้วย


                   1.  การตีความเนื้อหาของข้อมูล

                   2.  การตีความความหมายแฝงของข้อมูล
                   3.  การตีความวัตถุประสงค์ของผู้ผลิต





                                                           82
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96