Page 16 - kpi19910
P. 16

6







                                2) ขั้นตอนการก าหนดนโยบาย (Policy Formulation) การก าหนดนโยบายสาธารณะ
                      เป็นกระบวนการที่ด าเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งนโยบายส าหรับรัฐใน การน าไปแก้ไขหรือพัฒนาสังคมให้ดี

                      ขึ้นต่อไป
                                3) ขั้นตอนการน านโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) กระบวนการแปลง
                      นโยบายไปสู่แผนปฏิบัติงานได้อย่างไร
                                4) ขั้นตอนการประเมินผลนโยบาย (Policy Evaluation) การประเมินผลมีหลายวิธี เช่น

                      การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะตามกระบวนการหรือขั้นตอนของนโยบายสาธารณะ
                               5) ขั้นตอนการต่อเนื่อง การทดแทน และการสิ้นสุดนโยบาย (Policy Maintenance,
                      Succession & Termination) นโยบายสาธารณะประสบความส าเร็จต้องมีกลไกการด าเนินนโยบาย

                      สาธารณะอย่างต่อเนื่อง

                      2.2 แนวนโยบายของรัฐ

                               แนวนโยบายแห่งรัฐมีความมุ่งหมายเพื่อเป็นแนวทางให้รัฐด าเนินการตรากฎหมายและ
                      ก าหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยมีการก าหนดภาระหน้าที่ส าคัญของรัฐที่พึงปฏิบัติซึ่ง
                      ครอบคลุมภารกิจที่ส าคัญอันเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่จ าเป็นต่อการพัฒนาประเทศและความเป็นอยู่ของ
                      ประชาชนส่วนรวม ถือเป็นนโยบายขั้นพื้นฐานที่ผูกพันให้รัฐบาลต้องด าเนินนโยบายและปฏิบัติตาม

                      กรอบแนวนโยบายแห่งรัฐ ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและประชาชนได้รับความ
                      คุ้มครองตามกฎหมายอย่างเป็นธรรม อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบรัฐบาลหรือฝ่ายบริหารว่า
                      ได้บริหารราชการแผ่นดินภายในกรอบที่รัฐธรรมนูญก าหนดไว้ จะเห็นได้ว่า หมวดที่ว่าด้วย

                      แนวนโยบายแห่งรัฐมีความส าคัญและรัฐให้ความส าคัญการปฏิบัติตามแนวนโยบายแห่งรัฐมากน้อย
                      เพียงใด สิ่งที่ส าคัญคือ รัฐต้องด าเนินการให้ประชาชนเข้าถึงตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ได้โดยสะดวกและ
                      สามารถเข้าใจกฎหมายได้ง่ายเพื่อการปฏิบัติตามกฎหมายและรู้ถึงสิทธิหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง (ณัฐพล
                      ยิ่งกล้า, 2560) โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 58 การด าเนินการ

                      ใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตให้ผู้ใดด าเนินการ ถ้าการนั้นอาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ
                      คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียส าคัญอื่นใดของประชาชนหรือ
                      ชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง รัฐต้องด าเนินการให้มีการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพ
                      สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย

                      และประชาชนและชุมชนที่เกี่ยวข้องก่อน เพื่อน ามาประกอบการพิจารณาด าเนินการหรืออนุญาต
                      ตามที่กฎหมายบัญญัติบุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล ค าชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของ
                      รัฐก่อนการด าเนินการหรืออนุญาตตามวรรคหนึ่งในการด าเนินการหรืออนุญาตตามวรรคหนึ่ง รัฐต้อง
                      ระมัดระวังให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนชุมชน สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพน้อย

                      ที่สุด และต้องด าเนินการให้มีการเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายให้แก่ประชาชนหรือชุมชนที่
                      ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรมและโดยไม่ชักช้า
                               ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การด าเนินโครงการของภาครัฐจะด าเนินการโดยรัฐเอง หรืออนุญาตผู้ใด
                      ด าเนินการ รัฐต้องด าเนินการให้มีการศึกษาและประเมินผลกระทบ โดยการด าเนินโครงการดังกล่าวมี

                      ทั้งโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ (Mega Project) และโครงการพัฒนาทั่วไป เพื่อการพัฒนาเฉพาะพื้นที่
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21