Page 21 - kpi19910
P. 21

11







                      ส่วนร่วมของประชาชนและสิ่งแวดล้อมคือ หลักการที่ 10 ซึ่งก าหนดว่ารัฐจะต้องให้ประชาชนทุกภาค

                      ส่วนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารประเด็นสิ่งแวดล้อม และกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเข้ามามี
                      ส่วนร่วมในกระบวนการการตัดสินใจในการด าเนินโครงการ และหลักการที่ 17  ที่ระบุว่าต้องมี
                      การศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ส าหรับกิจกรรมที่จะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่มีนัยส าคัญ  แม้

                      ภาครัฐจะให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนมาเป็นเวลาเกือบ 20 ปี แต่เราก็ยังคงเห็นการ
                      ไม่ยอมรับการคัดค้านด้านการพัฒนาโครงการของรัฐจากประชาชนผู้ได้รับผลกระทบอยู่เสมอมา

                      โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการขนาดใหญ่ ปัญหาในการด าเนินการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น มีทั้ง
                      ปัญหาจากภาครัฐและภาคประชาชน ไม่ว่าจะเป็นความไม่เข้าใจกันเรื่องรูปแบบและเทคนิคการมีส่วน

                      ร่วม ความไม่ไว้วางใจของประชาชนในการด าเนินโครงการของรัฐ กลุ่มอิทธิพลที่มีบทบาทสูงในการ
                      ควบคุมประชาชนในพื้นที่ หรือแม้กระทั่งการที่หน่วยงานเจ้าของโครงการไม่ให้ความส าคัญที่แท้จริงใน

                      การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน จัดงบประมาณไม่สอดคล้องกับกิจกรรมที่จะต้องด าเนินการ การ
                      วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายในการรับฟังความคิดเห็นไม่ครอบคลุมผู้ได้รับผลกระทบที่แท้จริง (พิมพ์ใจ
                      ยุทธบรรดล, 2554) และวิธีการจัดการความขัดแย้งแบบมีส่วนร่วม มีขั้นตอนที่ส าคัญสรุปได้ 3 ขั้นตอน

                      คือ  (มนตรี ศิลป์มหาบัณฑิต, 2555) 1) ขั้นตอนก่อนเริ่มกระบวนการ  กล่าวคือ เป็นขั้นตอนของการ
                      ประเมินสถานการณ์และลักษณะความขัดแย้งว่า  มีความเหมาะสมที่จะใช้กระบวนการนี้ได้หรือไม่

                      กระบวนการในการน าบุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้ามาสู่กระบวนการ การท างาน
                      ร่วมกับบุคคลที่เป็นกลางที่จะท าหน้าที่ช่วยเหลือการสนทนาเจราจาในการวางแผนการท างาน การ

                      ก าหนดกระบวนการและการตั้งกฎกติกาพื้นฐาน 2) ขั้นตอนระหว่างการด าเนินการ กล่าวคือ เป็น
                      ขั้นตอนในการเจรจาแก้ไขปัญหาหรือความขัดแย้ง ซึ่งเริ่มจากการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน

                      การก าหนดขอบเขตของประเด็นปัญหาที่จะเจราจา การสนทนาเจรจา การค้นหาทางเลือกของการ
                      แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นไปได้และการประเมินทางเลือกต่าง ๆ เหล่านั้น การเจรจาข้อตกลงที่เป็นที่
                      ยอมรับได้ และการสร้างการยอมรับของบุคคลที่เกี่ยวข้อง และ 3) ขั้นตอนหลังกระบวนการ กล่าวคือ

                      การปฏิบัติตามข้อตกลง ซึ่งหมายถึง กระบวนการท าให้ข้อตกลงนั้นสามารถบังคับได้ในแบบพิธีการ
                      น าไปปฏิบัติ และการติดตามผลการปฏิบัติตามข้อตกลง วิธีการจัดการความขัดแย้งแบบมีส่วนร่วมนี้

                      ต้องอาศัยปัจจัยหลายประการ จึงจะสามารถน าไปสู่ตกลงที่ยอมรับได้ของทุกฝ่าย ดังนั้น ไม่ใช่ว่าความ
                      ขัดแย้งทุกประเภทที่จะสามารถใช้วิธีการนี้ได้


                               ลักษณะของความขัดแย้งที่เหมาะสม ดังนี้ (มนตรี ศิลป์มหาบัณฑิต, 2555)
                               1. ความขัดแย้งที่มีประเด็นที่สามารถเจรจาต่อรองได้  และไม่ใช่ประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิตาม
                      รัฐธรรมนูญ หรือคุณค่าพื้นฐานทางสังคม

                               2. ประโยชน์ที่ขัดแย้งกันนั้นสามารถแยกแยะออกมาได้ชัดเจน และจัดความส าคัญได้
                      พอที่จะให้เข้าร่วมกระบวนการได้สนทนาและเจรจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26