Page 13 - kpi19910
P. 13

3






                      1.3 ขอบเขตของกำรศึกษำ


                               1.3.1 พื้นที่เป้ำหมำย

                                       ในการด าเนินการวิจัย คือ พื้นที่จังหวัดภาคใต้ 11 จังหวัด ได้แก่
                                    1) กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย จ านวน 4 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดชุมพร

                      สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และพัทลุง
                                    2) กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน จ านวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดระนอง
                      พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง
                                    3) กลุ่มจังหวัดชายแดนภาคใต้ จ านวน 2 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดสงขลา และ

                      สตูล

                               1.3.2 กลุ่มเป้ำหมำย
                                      ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการด าเนินโครงการ ประกอบด้วย ตัวแทนภาคประชาชน

                      ตัวแทนผู้น าท้องถิ่น ตัวแทนข้าราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น และตัวแทนผู้บริหาร

                      หรือเจ้าหน้าที่ของโครงการ

                               1.3.3 เนื้อหำกำรศึกษำ
                                      ความเป็นมา สภาพปัญหาความขัดแย้ง กระบวนการมีส่วนร่วม และแนวทางการ

                      จัดการความขัดแย้งร่วมกัน

                               1.3.4 ระยะเวลำ
                                    ข้อมูลเชิงคุณภาพด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิ ตั้งแต่ปี

                      พ.ศ. 2525 ถึง 2561

                      1.4 นิยำมค ำศัพท์


                               1.4.1 นโยบายสาธารณะ หมายถึง แนวทางการเลือกตัดสินใจของรัฐบาลที่มีการก าหนดไว้
                      ล่วงหน้า เพื่อชี้น าให้มีกิจกรรมหรือการกระท าต่าง ๆ เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ก าหนดไว้ โดย
                      มีการวางแผน การจัดท าโครงการ วิธีการบริหารหรือกระบวนการด าเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์

                               1.4.2 ความขัดแย้ง หมายถึง การมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในลักษณะของความไม่เป็นมิตรที่ดีต่อ
                      กัน หรือตรงกันข้าม หรือไม่ลงรอยกัน และในงานวิจัยนี้ให้น้ าหนักกับความขัดแย้งอันเป็นผลจาก
                      นโยบายการพัฒนาต่าง ๆ โดยมีตัวแสดงหลักระหว่างรัฐและเจ้าหน้าที่รัฐ กับ ประชาชน และระหว่าง
                      ประชาชนกับประชาชน

                               1.4.3 แนวนโยบายของรัฐ หมายถึง แนวทางที่เป็นนโยบายหลักของประเทศ โดยมีการ
                      ก าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเพื่อให้รัฐเกิดความมั่นคงและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของ
                      ประชาชน โดยรัฐท าหน้าที่ก าหนดนโยบายและน านโยบายมาปฏิบัติ

                               1.4.4 การจัดการความขัดแย้ง หมายถึง เทคนิคการจัดการความขัดแย้งให้บุคคลตั้งแต่ 2
                      คนขึ้นไปที่มีความคิดเห็นหรือผลประโยชน์ไม่ได้เป็นไปในทางเดียวกัน หากแต่มีความพยายามที่จะหา
                      หนทางในการจัดการความขัดแย้งซึ่งอาจจะเป็นไปในลักษณะของการหรือมีข้อตกลงร่วมกันที่ทั้งสอง
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18