Page 84 - kpi18358
P. 84

จามรี ชุ่มทอง (2555) ได้กล่าวถึงปัญหาของระบบการตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรี รวมทั้งได้

               ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางหรือรูปแบบในการตรวจราชการในอนาคตของผู้ตรวจราชการส านัก

               นายกรัฐมนตรีให้มีความสอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและการบริหารราชการ

               เชิงบูรณาการ โดยผู้วิจัยได้กล่าวถึงปัญหาและอุปสรรคของระบบการตรวจราชการไว้ ดังนี้



                       1. ระบบการตรวจราชการผู้ตรวจส านักนายกรัฐมนตรีมีลักษณะแบบประเพณีนิยม ซึ่งไม่สามารถ

               ท าให้เกิดระบบการตรวจราชการแบบบูรณาการ โดยเฉพาะการท างานร่วมกันของผู้ตรวจราชการส านัก

               นายกรัฐมนตรี ผู้ตรวจราชการกระทรวง และผู้ตรวจราชการกรมในการลงพื้นที่พร้อมกัน โดยเฉพาะการ

               ประสานงานยังคงเป็นเพียงการประสานงานในเชิงเอกสารมากกว่าการประสานในลักษณะสารสนเทศ


                       2. การก าหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการตรวจราชการยังไม่ครอบคลุม ขอบเขตกว้างเกินไป


               ท าให้การน าวัตถุประสงค์ไปปฏิบัติไม่ชัดเจน ไม่สามารถท าได้ในทุกวัตถุประสงค์ รวมทั้งกระบวนการ

               ขั้นตอนในการตรวจราชการมีมากเกินไป กระบวนการตรวจราชการยังมีการด าเนินในรูปแบบที่มีลักษณะ

               แยกส่วนงานระหว่างผู้ตรวจราชการ การตรวจสอบและประเมินผล การด าเนินการตรวจราชการของ

               ผู้ตรวจราชการขาดการประสานงานระหว่างส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าในระบบการตรวจ

               ราชการยังไม่มีการวางกระบวนการตรวจราชการตามแนวทางการบริหารราชการแบบมุ่งเน้นการบูรณาการ

               มาใช้ นอกจากนี้ ในส่วนการวางแผนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีเป็นการ

               วางแผนในเชิงที่ก าหนดปฏิทินการปฏิบัติงาน ท าการระบุประเด็นนโยบายและพื้นที่ที่จะออกตรวจไม่ได้มี

               การวางแผนในเชิงบูรณาการ ซึ่งส่งผลต่อผลส าเร็จของการด าเนินนโยบายและแผนงานในเชิงบูรณาการ



                       3. บทบาทและอ านาจหน้าที่ของผู้ตรวจราชการ ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจ

               ราชการ พ.ศ. 2548  พบว่า มีการก าหนดบทบาทถึงการตรวจในระดับนโยบายของประเทศ แผนงาน และ

               โครงการของกระทรวง แต่ในทางปฏิบัติกลับเป็นการตรวจราชการตามนโยบายของรัฐบาลส่วนใหญ่

               นอกจากนี้ ยังได้มอบหมายให้ผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีเป็นประธานในคณะกรรมการ

               ธรรมาภิบาลจังหวัด เลขานุการรองนายกรัฐมนตรี และคณะกรรมการก ากับและติดตามการปฏิบัติราชการ

               ในส่วนภูมิภาคด้วย จากบทบาทที่มากมายของผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีด้วยขอบเขตและอ านาจ

               หน้าที่ยังขาดอ านาจการให้คุณโทษแก่ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการหรือหน่วยรับตรวจ รวมทั้งยังขาดอ านาจในการ

               เข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของประชาชนและหน่วยงานในพื้นที่ ท าให้ผู้ตรวจราชการไม่สามารถ

               ใช้อ านาจหน้าที่ได้อย่างจริงจังในการตรวจราชการ





                                                            41
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89