Page 85 - kpi18358
P. 85

4. บุคลากรในการตรวจราชการไม่เพียงพอต่อการออกตรวจราชการ รวมทั้งยังขาดการฝึกอบรมใน

               เรื่องที่สามารถในไปใช้ในการตรวจราชการ รวมไปถึงยังขาดความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะ

               ประยุกต์ใช้กับงานตรวจราชการ



                       5. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องที่ใช้ไม่ทันสมัย บางข้อไม่สามารถรองรับทิศทางการ

               ท างานในเชิงบูรณาการและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี นอกจากนี้ กฎหมายก็ยังมีความคลุมเครือ เช่น

               เรื่องบทบาทและอ านาจหน้าที่ของการตรวจราชการที่ไม่ได้มีการบังคับให้ปฏิบัติตามทุกข้อ แต่เป็นเพียง

               ชี้แนะว่าท าหรือไม่ท าก็ได้ เช่น ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด

               พ.ศ. 2552  ข้อ 14  ที่กล่าวว่า คณะกรรมการธรรมาภิบาลสามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการของ

               ข้าราชการได้ แต่ในทางปฏิบัติไม่สามารถท าได้



                       การเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาระบบการตรวจราชการให้เกิดความสอดคล้องกับการบริหาร

               กิจการบ้านเมืองที่ดีและการบริหารราชการเชิงบูรณาการ ผู้ศึกษาได้เสนอแนวทางไว้ 5  ประเด็นหลัก

               รายละเอียด   มีดังนี้


                       1. บทบาทและอ านาจหน้าที่ในการตรวจราชการ ควรให้ผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรี

               ท าหน้าที่เป็นที่ปรึกษาเพื่อเจรจาไกล่เกลี่ย ให้ค าแนะน า สร้างความเข้าใจ และให้การช่วยเหลือแก่เจ้าหน้าที่

               และราษฎรในพื้นที่ในกรณีเกิดปัญหา รวมทั้งให้ค าปรึกษาแก่หัวหน้าส่วนราชการในการเสนอแนะแนว

               ทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน และควรปรับปรุงบทบาทและอ านาจหน้าที่ในการตรวจราชการให้แก่ผู้ตรวจ

               ราชการให้สามารถประเมินผลงานของผู้ช่วยตรวจราชการในเขตตรวจของตนเองได้ รวมทั้งสามารถ


               ประเมินผลงานการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการ รองผู้ว่าราชการ

                       2. ด้านบุคลากรในการตรวจราชการ โดยจะแบ่งออกเป็น 2  กลุ่ม ได้แก่ ผู้ตรวจราชการส านัก

               นายกรัฐมนตรี และผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ เจ้าหน้าที่สนับสนุนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการส านัก

               นายกรัฐมนตรี

                       ผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้แบบสหวิชาการ มีการฝึกอบรมใน

               ลักษณะต้นน ้า-กลางน ้า-ปลายน ้า กล่าวคือ ระยะต้นน ้า ให้จัดอบรมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการตรวจราชการ

               ระยะกลางน ้า คือ เมื่อผู้ตรวจราชการไปตรวจหรือลงพื้นที่ อาจพบเจออุปสรรคและปัญหาในการออกตรวจ

               ราชการ ดังนั้น ควรจะมีการจัดให้มีเวทีในการแลกเปลี่ยนข้อมูลปัญหาอุปสรรค และผลที่จะท าให้

               การตรวจราชการประสบความส าเร็จมาแลกเปลี่ยนกันระหว่างผู้ตรวจราชการ เพื่อให้การตรวจราชการได้





                                                            42
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90