Page 133 - kpiebook67039
P. 133
132 กลยุทธ์การจัดกระบวนการเกมเพื่อส่งเสริมทักษะความเป็นพลเมือง
ในมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย : กรณีศึกษาเกม Sim Democracy
6.9 ข้อจ�ากัด
จากการสัมภาษณ์ พบว่าการน�าเกม Sim Democracy ไปใช้ในกรณีของประเทศไทย
เผชิญข้อจ�ากัด ดังนี้
ประการแรก ข้อจ�ากัดเรื่องทรัพยากร ได้แก่ จ�านวนผู้น�าการเล่นเกมไม่เพียงพอ เนื่องจาก
เกมนี้เป็นเกมที่ต้องมีการน�าเล่น ดังนั้น การขยายตัวจึงท�าได้ค่อนข้างจ�ากัดตามจ�านวนผู้น�าเล่นเกม
ที่ถูกฝึกฝนที่มีน้อย
ประการที่สอง ข้อจ�ากัดจากกลไกภายในตัวเกมที่ซับซ้อนท�าให้การน�าไปใช้ต่อค่อนข้าง
ล�าบาก ต้องใช้อุปกรณ์เฉพาะ สถานที่รองรับที่เหมาะสม และสมาชิกร่วมเล่นเกมให้เพียงพอ
ทั้งยังต้องใช้เวลาในการเตรียมตัว/ท�าความเข้าใจเกม และเวลาในการเล่นเกมค่อนข้างนานด้วย
6.10 ข้อเสนอในการปรับปรุงเกม Sim Democracy
จากการสัมภาษณ์ ข้อเสนอในการปรับปรุงเกม Sim Democracy ของประเทศไทย
คล้ายคลึงกับของทั้ง 2 ประเทศ คือ เป็นเรื่องที่เกม Sim Democracy มีกลไกที่ค่อนข้างซับซ้อน
อาจมีต้องมีการอธิบายโดยละเอียดที่เป็นสื่อหรือวีดิทัศน์เพื่อสอนวิธีการใช้งาน (Instructional
media) ที่ง่ายขึ้น
6.11 สังเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเล่นเกม
Sim Democracy กับความเป็ นพลเมือง
จากกรณีศึกษาประเทศไทย คณะผู้วิจัยสามารถสังเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเล่น
เกม Sim Democracy กับความเป็นพลเมืองได้ดังต่อไปนี้
ประการแรก ดังที่กล่าวมาแล้วว่าพรรคประชาธิปัตย์ใช้เกม Sim Democracy เพื่อพัฒนา
บุคลากรของพรรคให้มีความรู้ความเข้าใจระบบการเมือง บทบาทของผู้แทนราษฎร และบทบาท
ของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย