Page 43 - kpiebook67020
P. 43

42  การศึกษาการป้องกันวิกฤตสังคมในอนาคต




               6) บทลงโทษผู้กระท�าผิดหรือผู้ที่ฝ่าฝืนกฎหมายยังไม่สูงพอที่จะป้องกัน

        การท�าผิดกฎหมายได้

               การก�าหนดบทลงโทษผู้กระท�าผิดหรือผู้ที่ฝ่าฝืนกฎหมายยังไม่สูงพอที่จะป้องกัน

        การท�าผิดกฎหมายได้นั้น อาจท�าให้ผู้ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ไม่เกรงกลัวการลงโทษ
        เนื่องจากเป็นโทษที่เบา ไม่สอดรับกับพฤติกรรมที่ร้ายแรงและผู้ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่

        อาจเลือกที่จะผลักดันให้เกิดการผูกขาดทางการค้ามากกว่าค�านึงถึงความผิดทางกฎหมาย
        อีกทั้งการที่กฎหมายอนุญาตให้ผู้ประกอบธุรกิจท�าการฝ่าฝืนกฎหมายสามารถด�าเนิน

        การฟ้องร้องในคดีหมิ่นประมาทกับผู้ที่ออกมาเปิดเผยข้อมูล ส่งผลให้การออกมา
        เรียกร้องให้มีการพิจารณาการกระท�าที่เข้าข่ายเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายไม่สามารถท�าได้

        อย่างเต็มที่ เนื่องจากผู้ออกมาเรียกร้องมีต้นทุนค่าใช้จ่ายในกระบวนการต่อสู้ทางคดี
        ดังนั้นจึงจ�าเป็นต้องมีการปรับปรุงบทลงโทษขั้นต้นให้มีความเหมาะสมและได้สัดส่วน

        ความเสียหายที่เกิดขึ้น

               7) การไม่เอื้อต่อเอกชนในการด�าเนินการฟ้องร้องเองเพื่อป้องกันการผูกขาด

        ในตลาด

               ที่ผ่านมาพบว่าการบังคับใช้พระราชบัญญัติแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542

        และพระราชบัญญัติแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2560 ยังไม่เคยมีการด�าเนินคดีหรือ
        มีคดีการแข่งขันทางการค้าขึ้นสู่การพิจารณาของศาลยุติธรรมแม้แต่คดีเดียว เนื่องจาก

        ตัวบทกฎหมายที่ท�าให้องค์ประกอบของการเอาผิดตามกฎหมายมีเงื่อนไขที่ท�าได้ยาก
        เกินไป กฎหมายที่ไม่เอื้อต่อเอกชนในการด�าเนินการฟ้องร้องเองเพื่อป้องกันการผูกขาด

        ในตลาดอาจน�าไปสู่ผลกระทบหลายประการ ไม่ว่าจะเป็น ไม่มีการบังคับใช้กฎหมาย
        เพื่อด�าเนินคดีกับผู้ประกอบธุรกิจละเมิดกฎหมายแข่งขันทางการค้า อีกทั้งยังส่งผลต่อ

        ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อองค์กรบังคับใช้กฎหมาย ประชาชนและผู้ได้รับผลกระทบ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48