Page 32 - kpiebook66022
P. 32
สถาบันพระปกเกล้า
King Prajadhipok’s Institute
1) การเป็นตัวแทนของประชาชน (R) มี 4 องค์ประกอบย่อย โดยมีคำาถามรวม 11 ข้อ
2) การทำาหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ (L) มี 5 องค์ประกอบย่อย โดยมีคำาถามรวม 13 ข้อ
3) การตรวจสอบฝ่ายบริหาร (O) มี 5 องค์ประกอบย่อย โดยมีคำาถามรวม 17 ข้อ
4) ความโปร่งใสและการเข้าถึงได้ของรัฐสภา (T) มี 8 องค์ประกอบย่อย โดยมีคำาถาม
รวม 18 ข้อ
5) ความสำานึกรับผิดชอบของรัฐสภา (A) มี 4 องค์ประกอบย่อย มีคำาถามรวม 8 ข้อ
6) การมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ (I) มี 7 องค์ประกอบย่อย มีคำาถามรวม
15 ข้อ
กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรก เป็นกลุ่มเฉพาะ ประกอบด้วย
อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการระดับสูง สื่อมวลชน ผู้แทนจากภาคประชาสังคม
ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ สังคมศาสตร์
ผู้แทนจากภาคเอกชน และผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำานวน 16 คน และ กลุ่มที่สอง เป็นกลุ่มผู้แทน
ประชาชนในพื้นที่ที่คณะผู้วิจัยไปจัดประชุมกลุ่มในรูปแบบสภากาแฟ 4 ครั้ง ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย
อุดรธานี นครศรีธรรมราช และ กรุงเทพมหานคร โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive
sampling) จำานวนรวม 87 คน รวมตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 103 คนโดยมีเกณฑ์กำาหนดระดับ
การดำาเนินงานของรัฐสภา 5 ระดับ คือ
่
คะแนน 0.00 - 1.00 = ระดับตำามาก
่
คะแนน 1.01 - 2.00 = ระดับตำา
คะแนน 2.01 - 3.00 = ระดับปานกลาง
คะแนน 3.01 - 4.00 = ระดับสูง
คะแนน 4.01 - 5.00 = ระดับสูงมาก
โดยหลังจากดำาเนินการศึกษาแล้ว ได้ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้
R
5
4
3 2.05
I O R การเป็นตัวแทนของประชาชน
2.73 2 2.53 O การตรวจสอบฝ่ายบริหาร
1 L การทำาหน้าที่นิติบัญญัติ
0 T ความโปร่งใสและการเข้าถึงได้
2.65 A ความสำานึกรับผิดชอบ
2.69 I การมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ
A L
2.51 ค่าเฉลี่ย
T
ภาพ 3 ผลการประเมินโดยภาพรวม สมัยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
18