Page 255 - kpiebook65066
P. 255

183







                       ภาพที่ 4.8 เทศบาลนครสกลนครไดรวมกับศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดสกลนครเพื่อทําการคัด
                       กรองผูเรียนที่มีความตองการพิเศษ


                              4.2.2 โครงการสงเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กพิเศษ ในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษ
                       เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
                                     1) ปญหา ที่มาของปญหา และผลกระทบจากปญหา เทศบาลเมืองศรีสะเกษ ได
                       ใหความสําคัญกับงานดานเด็กพิเศษ งานการศึกษานอกระบบ และตามอัธยาศัย จึงไดลงสํารวจเด็ก

                       ดอยโอกาสทางการศึกษาที่เปนเด็กพิเศษ ในชวงอายุ 2–18 ป ที่อาศัยอยูในเขตเทศบาลเมือง
                       ศรีสะเกษพบวา เด็กเหลานั้นมีความบกพรองทั้งทางดานสติปญญา เชน ออทิสติก เรียนรูชา ดาวนซิน
                       โดรม และความบกพรองทางดานรางกาย เชน การไดยิน การพูดสื่อสาร การเขาสังคม การเคลื่อนไหว
                       จากการสอบถามผูปกครองที่เปนผูดูแลเด็กเหลานั้นอยางใกลชิด ทําใหทราบวาเด็กสวนหนึ่งไดรับการ

                       ดูแล และสงเสริมทางดานพัฒนาการตาง ๆ เปนอยางดี เนื่องจากผูปกครองมีอาชีพ และรายไดที่
                       มั่นคง แตเด็กสวนใหญที่พบมักอาศัยอยูกับผูปกครองที่มีครอบครัวแตกแยก มีปญหาหยาราง บางสวน
                       ผูปกครองเปน ปู ยา ตา ยาย ซึ่งมีอายุมาก ทําใหดูแลเด็กไดไมดีเทาที่ควร การเขาถึงขอมูลขาวสาร

                       และสิทธิประโยชนตาง ๆ ของคนพิการมีนอย สวัสดิการตาง ๆ ที่ไดรับจากรัฐ และหนวยงานอื่น ๆ ไม
                       เพียงพอสําหรับการดําเนินชีวิต
                                     ที่มาของปญหาดังกลาวเกิดจาก (1) ครอบครัวมีฐานะยากจน ผูปกครองมีอาชีพ
                       และรายไดไมแนนอน (2) ครอบครัวแตกแยก พอแมหยาราง มีพอ หรือแมเปนผูดูแลเพียงฝายเดียว
                       (3) เด็กอาศัยอยูกับบุคคลอื่นที่ไมใชบิดา หรือมารดาของตนเอง เชนอาศัยอยูกับปู ยา ตา ยาย (4)

                       เนื่องจากครอบครัวยากจนไมสามารถมีเครื่องมือสื่อสารได และ (5) สวัสดิการตาง ๆ ที่ไดรับจากรัฐ
                       และหนวยงานอื่น ๆ ไมเพียงพอสําหรับการดําเนินชีวิต
                                     จากปญหา และที่มาของปญหาที่สํารวจไดนั้นทําใหทราบวา เด็กพิเศษสวนใหญ

                       ไดรับโอกาสทางการศึกษา และโอกาสที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตนอยกวาเด็กคนอื่น ๆ เนื่องจากขาด
                       อุปกรณการสื่อสาร และการเขาถึงขอมูลขาวสารที่ไดรับจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ชองทางในการ
                       ติดตอสื่อสารกับหนวยงานที่เกี่ยวของมีความจํากัดในดานการใชเทคโนโลยี การติดตอประสานงานยัง
                       ไมมีความตอเนื่องเทาที่ควร ผลกระทบดังกลาวทําใหเด็กพิเศษขาดโอกาสที่จะไดรับการพัฒนาในดาน

                       ตาง ๆ เพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมโดยไมเปนภาระหรือสรางความ
                       เดือดรอนใหกับสังคมในอนาคต
                                     2) วิธีการแกไขปญหาที่ได ไดแก (1) ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของกับสิทธิ
                       ประโยชน และสวัสดิการตาง ๆ ของผูพิการ และเด็กดวยโอกาส เชน สํานักงานพัฒนาสังคม และ

                       ความมั่นคงของมนุษย กองสวัสดิการเทศบาลเมืองศรีสะเกษ (2) สงตอเด็กพิเศษที่ไมมีปญหาดานการ
                       เรียนรูใหกับสถานศึกษาภายในเขตเทศบาล ศูนยสงเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม
                       อัธยาศัย (3) ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารทางการศึกษา และขาวสารเรื่องอื่น ๆ ที่จําเปน ใน
                       หลากหลายชองทางที่ผูปกครองเด็กพิเศษสามารถเขาถึงไดงาย และ (4) ขอรับการสนับสนุนเครื่อง

                       อุปโภค บริโภคจากบุคคลที่มีจิตศรัทธากับเด็กพิเศษ
   250   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260