Page 250 - kpiebook65066
P. 250

178






                       ตารางที่ 4.11 ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ
                                     ตัวชี้วัด                    หนวยวัด             คาเปาหมาย
                       1. ตัวชี้วัดกระบวนการ (Process)
                          ๑.๑ บันทึกขอตกลงกับหนวยงานที่         1 ฉบับ                  100

                       เกี่ยวของ
                       2. ตัวชี้วัดผลผลิต (Output)

                          ๒.๑ เยาวชนในเขตพื้นที่เทศบาลตําบล       รอยละ                  100
                       เสิงสางไดรับการศึกษาตามที่ตองการ
                       3. ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome)
                          ๓.๑ เยาวชนในเขตพื้นที่เทศบาลตําบล       รอยละ                  100

                       เสิงสางไดรับการศึกษาจบตามหลักสูตรที่
                       ตองการ


                                     8) ความกาวหนาในการดําเนินโครงการ และแนวทางการดําเนินงานตอไป
                                            - เทศบาลตําบลเสิงสางประชุมคณะผูบริหารเพื่อแตงตั้งคณะทํางาน สํารวจ
                       กลุมเปาหมาย เก็บขอมูลสํารวจกลุมเปาหมายในชุมชน โดยอาสาสมัครชุมชน วิเคราะหขอมูล จัดทํา
                       ประวัติ และวิเคราะหขอมูลความตองการของกลุมเปาหมาย ไดแก (๑) เขาศึกษาตอเอง ในรูปแบบ
                       การศึกษาในระบบ (๒) เขาศึกษาตอเอง ในรูปแบบการศึกษานอกระบบ และ (๓) ยายที่อยูอาศัย

                       (ทํางานตางจังหวัด) พรอมทั้งกําหนดแนวทางการชวยเหลือเพื่อรองรับความตองการการศึกษาตอใน
                       แตละแบบ
                                            - จัดทําบันทึกความรวมมือกับหนวยงานจัดการศึกษา ไดแก

                       วิทยาลัยเทคนิคนครโคราช กศน. อําเภอเสิงสาง เพื่อดําเนินการ พัฒนาระบบชวยเหลือเยาวชนให
                       ไดรับการศึกษาตามความตองการ และชวยเหลือเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาใหหรือเสี่ยงที่จะ
                       หลุดจากาารศึกษาไดรับการศึกษาตามความตองการ
                                            - สงกลุมเปาหมายกลับเขาสูระบบการศึกษาจัดกิจกรรมแนะแนวการศึกษา

                       ตอ และสงตอใหกับหนวยงานที่รับผิดชอบ จากการสํารวจกลุมเปาหมาย พบวากลุมตัวอยาง ไดกลับ
                       เขาสูระบบการศึกษาดวยตนเอง รวมถึงมีการยายที่อยูอาศัยไปยังตางจังหวัด ผูรับผิดชอบโครงการ จึง
                       ทําการถอดบทเรียนจากเยาวชนที่กลับเขาสูระบบการศึกษา โดยพบวา (1) เยาวชนที่กลับเขาสูระบบ
                       การศึกษา ดวยตนเอง มีจุดประสงคเพื่อตองการวุฒิการศึกษาเพื่อใชในการทํางาน และ (2) เมื่อเขา

                       ศึกษาอีกครั้ง เยาวชนประสบปญหาในการใชเวลาในการเขาเรียน เชนไมสามารถเขารวมกิจกรรมที่
                       ศูนยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจัดขึ้นได เนื่องจากตองทํางานประจํา และ (3)
                       เยาวชนตองการไดรับความชวยเหลือในดานการสนับสนุนทุนการศึกษา
                                            - แนวทางการดําเนินงานโครงการตอไป ไดแก (1) จัดทําบันทึกขอตกลง

                       (MOU) รวมกับชุมชน ทั้ง 9 ชุมชน ในการใหความรวมมือดําเนินการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
                       (2) จัดทําบันทึกขอตก (MOU) รวมกับโรงเรียนในเขตพื้นที่เทศบาลตําบลเสิงสาง (3) จัดทําบันทึกขอ
                       ตก (MOU) รวมกับสถานีตํารวจภูธรอําเภอเสิงสาง (4) จัดตั้งงบประมาณดานทุนการศึกษา จัดตั้ง
   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255