Page 223 - kpiebook65066
P. 223

151






                       เที่ยวเมืองศรีเทพ เทศกาลกินไกวิเชียรบุรีไกยางวิเชียรบุรี งานแขงเรือลาพรรษา ประเพณีอุมพระดํา
                       น้ํา งานวันขาวหลาม สัปดาหการทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่อุทยานแหงชาติน้ําหนาว งานฉลองปใหมชาว
                       ไทยภูเขาเผามง ลองแกงบนภูเขา ในสวนของภูมิปญญาทองถิ่น ไดแก ตุบเกง เปนดนตรีพื้นบานของ
                       เพชรบูรณ (องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ, 2560, น. 27 - 30)

                                     สําหรับภาษา จังหวัดเพชรบูรณ มีประชากรที่เปนคนพื้นบานซึ่งพูดภาษาถิ่นที่
                       แตกตางกันในแตละทองที่ นอกจากนี้ยังมีประชากรที่อพยพจากสวนตาง ๆ ของประเทศไทยโดยใช
                       ภาษาถิ่นเดิมของตน และชาวไทยภูเขา ที่พูดภาษาของเผาตน จึงทําใหวัฒนธรรมทางภาษาถิ่นของ
                       เพชรบูรณมีความหลากหลาย ภาษาถิ่นที่ใชกันในจังหวัดเพชรบูรณ ไดแก กลุมภาษาหลม กลุมภาษา

                       เพชรบูรณ กลุมภาษาเพชรบูรณตอนใต กลุมภาษาถิ่นไทยกลาง ภาษากลุมชาวบน และกลุมภาษา
                       ชาวเขา (องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ, 2560, น. 30 - 32)
                                     ๕) สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ จังหวัดเพชรบูรณมีเสนทางคมนาคมทาง
                       รถยนตหลายเสนทาง แตยังไมมีเสนทางคมนาคมรถไฟ เสนทางหลัก คือ ทางหลวงหมายเลข ๒๑ สาย

                       สระบุรี-หลมสัก และเสนทางหลวงหมายเลข ๑๒  ซึ่งเปนทางหลวง และเปนเสนทางคมนาคมแนว
                       พื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) เชื่อมโยงประเทศพมา-ไทย-
                       ลาว-เวียดนามตามโครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง มีเสนทางเดินรถ

                       โดยสารและรถขนาดเล็ก จํานวน ๘๗ เสนทาง มีแนวโนมจํานวนผูใชไฟฟาเพิ่มขึ้น จํานวน 307,621
                       ราย (2560) มีแนวโนมผูใชน้ําประปามากขึ้น จํานวน 46,242 ราย (2560) (องคการบริหารสวน
                       จังหวัดเพชรบูรณ, 2560, น. 17 - 15)

                              ๓.13.3 บริบทดานการจัดการการศึกษา

                                     1) ดานหนวยงาน และบุคลากร องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณมีหนวยงาน
                       ที่รับผิดชอบดานการศึกษาโดยตรง ไดแก กองการศึกษา
                                     2) ดานนโยบาย ในดานการจัดการศึกษา จากแผนพัฒนาทองถิ่น 5 ป ขององคการ

                       บริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณพบวา หนวยงานใหความสําคัญกับการศึกษา โดยกําหนดประเด็น
                       การศึกษาไวในวิสัยทัศน และกําหนดไวในยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาดานการสงเสริมคุณภาพ
                       การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี การกีฬา นันทนาการและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมี
                       เปาประสงคเพื่อสงเสริมคุณภาพดานการศึกษา และมีโครงการในแผนงานดานการศึกษาจํานวน 130

                       โครงการ งบประมาณ 78.082 บาท (3.9%)
                                     3) สถานศึกษา ในเขตพื้นที่เทศบาลมีสถานศึกษาดังตอไปนี้
                                            (3.1) สถานศึกษาสังกัดขององคการบริหารสวนจังหวัด มี 1 โรงเรียน
                       ไดแก โรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ (วังชมภูวิทยาคม)

                                            (3.2) สถานศึกษาในสังกัดอื่นๆ จังหวัดเพชรบูรณ มีสถาบันการศึกษา
                       ระดับอุดมศึกษาจํานวน ๑๐ แหง ไดแก มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
                       สาขาวิทยาบริการจังหวัดเพชรบูรณ วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ
                       วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ วิทยาลัยสารพัดชางจังหวัดเพชรบูรณ วิทยาลัยการอาชีพวิเชียรบุรี
   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228