Page 222 - kpiebook65066
P. 222

150






                       574,663 คน (58.7%) รองลงมาไดแก กลุมอายุ 0 – 19 ป จํานวน 210,716 คน (21.5%)
                       และกลุมอายุ 60 ขึ้นไป จํานวน 192,993 คน (19.7%) (กรมการปกครอง, 2564)
                                     ๓) สังคม และเศรษฐกิจ สภาพสังคมโดยทั่วไปของจังหวัดเพชรบูรณเปนสังคม
                       เกษตรกรรม จังหวัดเพชรบูรณ มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาจํานวน ๑๐ แหง มีโรงเรียนระดับ

                       ประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา รวมทั้งสิ้น 600 แหง มีสถานพยาบาล รวม 569 แหง
                       โรงพยาบาลรัฐบาล จํานวน ๑๒ แหง โรงพยาบาลเอกชน จํานวน ๓ แหง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
                       ตําบล ๑๕4 แหง และคลินิก 400 แหง ในสวนของคดีอาญา มีคดีรับแจง 131 คดี ยักยอกทรัพย
                       เปนคดีที่พบมากที่สุด นอกจากนี้จังหวัดเพชรบูรณเปนเสนทางผาน และเสนทางลําเลียงยาเสพติดจาก

                       ภาคเหนือไปสูภาคอื่น ๆ จึงเปนพื้นที่สําคัญในการจับกุมยาเสพติดเกือบทุกชนิด ไดแก ยาบา ยาไอซ
                       กัญชา ทําใหในพื้นที่ของจังหวัดเพชรบูรณมีการแพรระบาดของยาเสพติด ไดแก ยาบา รองลงมา คือ
                       กัญชา ไอซ และสารระเหย (องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ, 2560, น. 8 - 15)
                                     ในสวนของสภาพเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดเพชรบูรณ ไดแก

                       ภาคเกษตรกรรม โดยพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบูรณ ไดแก ขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว ออยโรงงาน
                       มันสําปะหลัง ถั่วเขียวผิวมัน ถั่วเขียวผิวดํา ยาสูบ ยางพารา มะขามหวาน และกะหล่ําปลี โดยเฉพาะ
                       อยางยิ่งใชพื้นที่ในการปลูกขาวนาปมากกวา ๑ ลานไร และมีการใชพื้นที่ในการปลูกยางพารา และ

                       ออยโรงงาน เพิ่มมากขึ้นในทุกป มีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืดโดยเฉพาะในเขตอําเภอเมือง สัตว
                       เศรษฐกิจในจังหวัดเพชรบูรณ ประกอบดวย ไก สุกร โคนม โคเนื้อ กระบือ จังหวัดเพชรบูรณมีการ
                       ทองเที่ยวที่หลากหลายรูปแบบ ซึ่งประกอบดวยการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติการทองเที่ยวเชิงเกษตร
                       การทองเที่ยวเชิงศิลปะ การทองเที่ยวเชิงโบราณสถาน/โบราณวัตถุ/ประเพณี และการทองเที่ยวผจญ
                       ภัย ถือไดวาการทองเที่ยวเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัด ในป ๒๕60 จังหวัด

                       เพชรบูรณมีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมรวมทั้งสิ้น ๑,๑79 โรงงาน มีสินคา OTOP ที่หลากหลายทั้ง
                       ประเภท ผา เครื่องแตงกาย ประเภทอาหาร สมุนไพร ของใช และอื่น ๆ ซึ่งสินคาเดน ๆ ที่สรางรายได
                       ใหกับคนในพื้นที่ ไมวาจะเปนกระเปาผา มะขามคลุกน้ําตาลแกะเมล็ด เกลือขัดผิว สมุนไพรชญานิน

                       หมอนอิง และน้ําผลไมขน (น้ํามันเบอรรี่เขมขน) และอื่น ๆ ทั้งนี้จังหวัดเพชรบูรณมีจํานวนผูที่อยูใน
                       กําลังแรงงานในป พ.ศ. ๒๕61 ทั้งสิ้น 483,715 คน และมีผูมีงานทําทั้งสิ้น 463,363 คน (องคการ
                       บริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ, 2560, น. 18 - 23)
                                     ๔) วัฒนธรรม สําหรับศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม ประชาชนในเขตจังหวัด

                       เพชรบูรณสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ (๙๙.4%) รองลงมา คือ ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม และ
                       ศาสนาซิกส ฮินดูและอื่นๆ โดยจังหวัดเพชรบูรณมีจํานวนทั้งสิ้น 911 แหง แยกเปนวัด ๒๒๘ แหง
                       สํานักสงฆ 646 แหง โบสถคริสต ๓๓ แหง มัสยิด 4 แหง
                                     ประเพณีที่สําคัญ อาทิ งานเส็งกลอง ลองโคมไฟ ไหวพอขุนผาเมือง เทศกาลชิม

                       มะขามหวานเพชรบูรณ แขงเรือภูเขา เทศกาลอบหมอกกอดหนาว ดูดาวที่เขาคอ ประเพณีปใหมชาว
                       ไทย ภูเขาเผามง งานกาชาดมะขามหวานนครบาลเพชรบูรณ งานบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จ
                       พระนเรศวรมหาราช อําเภอวิเชียรบุรี ประเพณีปใหมชาวไทยภูเขาเผาลีซอ งานบวงสรวงเจาพอศรี
                       เทพ ศาลเจาพอศรีเทพ ทองไพรที่น้ําตกตาดหมอก งานประเพณีวันสงกรานตประเพณีสงกรานต

                       จังหวัดเพชรบูรณ งานมะมวงหนองไผ งานบุญบั้งไฟเดือนหก เทศกาลชิมขนมจีนหลมเกา เทศกาล
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227