Page 224 - kpiebook65066
P. 224

152






                       วิทยาลัยการอาชีพชนแดน วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีจังหวัดเพชรบูรณ มีโรงเรียนระดับ
                       ประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา รวมทั้งสิ้น 600 แหง และมีศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 735 ศูนย

                              ๓.13.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา

                                     การอานออกเขียนได หรือการรูหนังสือ (Literacy) เปนคุณสมบัติพื้นฐานที่จําเปน
                       ตอการเรียนรูลารสื่อสารในสังคมปจจุบัน เปนบันไดขั้นแรกของการแสวงหาความรูอันมหาศาลในโลก
                       นี้ และเปนการเชื่อมโยงการสื่อสารของผูคนตาง ๆ ในสังคมนี้เขาดวยกัน องคการยูเนสโกถือวาการรู
                       หนังสือเปนประตูสูอิสรภาพของมนุษยชาติ เพราะการรูหนังสือเปนการใหอิสรภาพแกผูคนทั้งหลาย

                       เปนอิสรภาพจากความไมรู อิสารภาพจากความยากจน อิสรภาพจากความเจ็บไขไดปวย เพียงเพราะ
                       คนเหลานั้นมีความรู สามารถอานออกเขียนได แสดงใหเห็นวาเมื่อรูหนังสือ และมีโอกาสนําไปปฏิบัติ
                       แลวก็จะชวยใหสามารถดําเนินชีวิตไดอยางเสรี และมีชีวิตที่สมบูรณยิ่งขึ้น
                                     ประเทศไทยยังมีประเด็นปญหาคนไทยอานไมออกเขียนไมไดแมวาจะไดรับการ

                       ยอมรับวาเปนผูนําการรณรงคจัดการอานไมออกเขียนไมไดมาอยางตอเนื่อง แตจํานวนของคนที่อาน
                       ไมออกเขียนไมไดก็ยังคงมีอยู และมีจํานวนมากพอสมควร ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานก็ยังพบวา
                       เด็กไทยอานไมออก เขียนไมไดยีงมีอยูเปนจํานวนมาก เชนเดียวกัน

                                     โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงสถานการณโรคติดตอไวรัสโควิด-19 ที่ผานมา นักเรียน
                       ไดรับการพัฒนาทักษะดานการอาน การเขียนภาษาไทยไมเต็มที่เนื่องจากมีการจัดการเรียนการสอน
                       ในรูปแบบออนไลน สงผลใหนักเรียนที่อานไมออกเขียนไมไดในระดับประถมศึกษาเพิ่มจํานวนขึ้น
                       นักเรียนกลุมดังกลาวไดศึกษาตอระดับมัธยมศึกษาจึงเปนกลุมนักเรียนที่อานไมคลองเขียนไมคลอง
                                     องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ ไดใหความสําคัญกับงานพัฒนาคุณภาพของ

                       นักเรียน จัดการศึกษาในระดับมัธยยมศึกษา ไดทําการประเมินการอานออกเขียนไดของนักเรียนที่
                       กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษา ในชวงอายุ 13-18 ป ของโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด
                       เพชรบูรณ (วังชมภูวิทยาคม) โดยนักเรียนสวนใหญอาศัยอยูในตําบลวังชมภู ตําบลนายม ตําบลหวย

                       สะแก ตําบลระวิง พบวามีนักเรียนบางสวนอานไมคลอง เขียนไมคลอง สงผลตอการเรียน และ
                       ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน รวมถึงการดําเนินชีวิต และโอกาสในการพัฒนาตนเอง
                                     ที่มาของปญหาเกิดจาก (1) การยายถิ่นฐานของผูปกครอง ทําใหเด็กตองยายติดตาม
                       เปลี่ยนโรงเรียนบอย ๆ (2) วิธีการสอนของครูไมสามารถทําใหเด็กอานออกได เชน ขาดความชํานาญ

                       และประสบการณในการสอนภาษาไทย หรือบางโรงเรียนขาดครูสอนภาษาไทยโดยเฉพาะ
                       นอกจากนั้นครูมีจํานวนนอย หรือบางโรงเรียนขาดครูสอน (3) เด็กไทยไมไดรับการปลูกฝงใหมีนิสัย
                       รักการอานตั้งแตเด็ก (4) เนื้อหาวิชาในหลักสูตรไมเหมาะสมกับการเรียนรู และวัยของนักเรียน (5)
                       นโยบายไมใหเด็กเรียนซ้ําชั้น ทําใหเด็กเรียนออนเลื่อนไปเรียนชั้นสูง ทั้ง ๆ ที่อานไมออก เขียนไมได

                       (6) ผูปกครองบางคนทํางานจนลืมดูแลบุตรหลาน ไมมีเวลาสอนการบาน และไมฝกการอานการเขียน
                       ที่บานแกลูก มอบภาระแกครู หรือครูสอนพิเศษ หรือการกวดวิชา และ (7) หลักการสอนภาษาไทย
                       สมัยใหม ไมนิยมสอนแจกลูก-สะกด เชน “เรียน” = เอ-รอ-อี-ยอ-นอ = เรียน แสดงวาครูไมสอนแจก
                       ลูก-สะกดคํา และผันเสียง
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229