Page 221 - kpiebook65066
P. 221

149






                                     โดยองคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณมีแผนในการจัดทําโครงการทั้งหมด 780
                       โครงการ งบประมาณ 2,010.287 ลานบาท โครงการสวนใหญอยูในยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาการ
                       สงเสริมคุณภาพชีวิต คุณภาพการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี การกีฬา นันทนาการ และ
                       พัฒนาคุณภาพชีวิต จํานวน 320 โครงการ (41.0%) งบประมาณ 224.085 ลานบาท (11.1%)

                       อยางไรก็ตามยุทธศาสตรที่มีงบประมาณมากที่สุด ไดแก ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาดานการเมือง
                       และการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล งบประมาณ 478.389 ลานบาท (23.8%)

                              ๓.13.2 บริบทเชิงพื้นที่

                                     ๑) ลักษณะทางกายภาพ จังหวัดเพชรบูรณมีพื้นที่ประมาณ ๑๒,๖๖๘.๔๑๖ ตาราง
                       กิโลเมตร หรือประมาณ ๗,๙๑๗,๗๖๐ ไร จังหวัดเพชรบูรณมีลักษณะภูมิประเทศเปนเทือกเขารูป
                       เกือกมารอบพื้นที่ดานเหนือของจังหวัด และมีแนวขนานกันไปทั้งสองขางทั้งทิศตะวันออก และทิศ
                       ตะวันตก พื้นที่ราบสวนใหญเปนพื้นที่ที่อยูตอนกลาง และอําเภอดานเหนือของจังหวัดเปนพื้นที่ลาด

                       ชัน โดยจากเหนือถึงใต มีพื้นที่ปาไมรวม ๓,๙๕๓,๔๕๕ ไร (๔๕.8%) มีแมน้ําปาสักเปนแมน้ําสาย
                       สําคัญที่สุดของจังหวัด ที่ไหลผานตลอดกลางของจังหวัด จากทิศเหนือไปทิศใตยาวประมาณ ๓๕๐
                       กิโลเมตร ซึ่งตนน้ําเกิดจากภูเขาผาลาในจังหวัดเลย มีหวยล้ําธารหลายสายเกิดจากภูเขาเพชรบูรณ แม

                       น้ําปาสักไหลผานอําเภอเภอหลมเกา หลมสัก เมืองเพชรบูรณ หนองไผ บึงสามพัน วิเชียรบุรี และศรี
                       เทพ (องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ, 2560, น. 1)
                                     จากขอมูลการใชที่ดินของจังหวัดเพชรบูรณ ในป ๒๕59 มีพื้นที่ถือครองทาง
                       การเกษตร เทากับ ๓.282 ลานไร (๔๑.5%) พื้นที่ปาไม ๒.๔19 ลานไร (๓๐.6%) พื้นที่นอกภาค
                       การเกษตร ๒.๒16 ลานไร (๒๘.0%) นอกภาคการเกษตรลดลงอยางตอเนื่องตั้งแตป ๒๕๕6 โดยในป

                       ๒๕59 พื้นที่นอกภาคการเกษตรลดลงจากป ๒๕๕8 (0.1%) รวมทั้งเนื้อที่ปาไมที่มีจานวนเพิ่มขึ้น
                       ดวย (0.02%) เมื่อเปรียบเทียบพื้นที่ปาไมระหวางป ๒๕๕8 และ ๒๕๕9 (องคการบริหารสวนจังหวัด
                       เพชรบูรณ, 2560, น. 2)

                                     จากขอมูลการใชดินทางการเกษตรของจังหวัดเพชรบูรณ ในป ๒๕๕9 พบวาพื้นที่
                       สวนใหญปลูกพืชไร ๑.๖๔7 ลานไร (50.2%) รองลงมาเปนพื้นที่นา จํานวน ๑.๒๖3 ลานไร (๓๘.
                       5%) ทั้งนี้เนื่องจากลักษณะดินในจังหวัดเพชรบูรณมีความหลากหลายมากถึง ๓๐ กลุมดิน ซึ่งเหมาะ
                       กับการปลูกพืชที่แตกตางกันไป (องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ, 2560, น. 2)

                                     ดวยจังหวัดเพชรบูรณ มีลักษณะภูมิประเทศเปนแองกระทะ ทําใหมีหวย คลอง บึง
                       กระจัดกระจายอยูทั่วไปในพื้นที่ แตมีแมน้ําที่สําคัญเพียงสายเดียว คือ แมน้ําปาสัก ซึ่งในปจจุบันมี
                       สภาพตื้นเขิน มีน้ําเฉพาะในฤดูฝน สวนในฤดูแลงน้ําจะแหง ขาดเปนตอน ๆ ไมเพียงพอแกการ
                       เพาะปลูก นอกจากนี้จังหวัดเพชรบูรณยังมีโครงการชลประทานขนาดกลางรวมทั้งสิ้น ๑3 โครงการ มี

                       อางเก็บน้ําคลองลากง (องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ, 2560, น. 2 - 3)
                                     ๒) ประชากร ในป 2564 จังหวัดเพชรบูรณมีประชากรทั้งสิ้น 978,372 คน
                       จําแนกเปนชาย 4282,234 คน หญิง 496,138 คน ครัวเรือน 368,998 คน นอกจากนี้เมื่อแบง
                       ตามกลุมอายุแลวพบวา จังหวัดเพชรบูรณมีประชากรในกลุมอายุ 20 – 59 ป มากที่สุด จํานวน
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226