Page 228 - kpiebook65066
P. 228

156






                                          ชื่อโครงการ                        องคกรปกครองสวนทองถิ่น
                        ๔.๔ โครงการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของ องคการบริหารสวนตําบลนาพู
                        เด็กในเขตพื้นที่ตําบลนาพู


                       4.1 การปองกันเด็ก และเยาวชนไมใหหลุดจากระบบการศึกษา และการสรางโอกาสทาง
                       การศึกษาใหกับเด็ก และเยาวชนที่อยูนอกระบบการศึกษา


                              โครงการในกลุมที่ 1 จะเกี่ยวของกับการนําเด็ก และเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษา กลับ
                       เขาสูระบบการศึกษา หรือโครงการที่ปองกันการหลุดจากระบบการศึกษาของเด็ก และเยาวชน โดย
                       จะประกอบไปดวยโครงการ 5 โครงการ ไดแก (1) โครงการกองทุนเพื่อการเขาถึงการศึกษาอยางมี
                       คุณภาพสําหรับเด็กเยาวชนตําบลวอแกว (2) โครงการอบรมทักษะชีวิตแกเด็ก และเยาวชน  เพื่อ

                       ปองกันการหลุดจากระบบการศึกษาของเด็ก และเยาวชนตําบลตาตุม (3) โครงการสรางโอกาสทาง
                       การศึกษา ใหกับเด็ก และเยาวชนที่อยูนอกระบบการศึกษา ในเขตเทศบาลเมืองทุงสง (4) โครงการ
                       ลดความเหลื่อมล้ํา เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ใหกับเด็ก และเยาวชนที่ไมไดรับการศึกษา ใน
                       เขตเทศบาลนครภูเก็ต และ (5) โครงการพัฒนาระบบ และชวยเหลือดานการศึกษาแกเยาวชนที่อยู

                       นอกระบบการศึกษา เทศบาลตําบลเสิงสาง โดยมีรายละเอียดตอไปนี้

                              4.1.1 โครงการกองทุนเพื่อการเขาถึงการศึกษาอยางมีคุณภาพสําหรับเด็กเยาวชนตําบล
                       วอแกว

                                     1) ปญหา ที่มาของปญหา และผลกระทบจากปญหา องคการบริหารสวนตําบล
                       วอแกวไดรวมกับผูนําหมูบาน โรงเรียนวอแกววิทยา โรงเรียนบานทุงหก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
                       โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลวอแกว อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ผูนําองคกร

                       ภาคประชาชน สํารวจเด็กเยาวชนที่อยูในระบบการศึกษา และนอกระบบการศึกษาพบวา เด็กชวง
                       อายุ 6 – 15 ปจํานวน 56 คน มีปญหาครอบครัว ผูปกครองหยาราง เด็กอาศัยอยูกับ ปู ยา ตา ยาย
                       หรืออยูกับพอแมเพียงลําพัง เยาวชนชวงอายุ 16 – 18 ป จํานวน 14 คน ประสบปญหาคลายคลึง
                       กัน คือ เด็กเยาวชนที่อยูในระบบการศึกษามีสถานะทางครอบครัวที่พอแมแยกทางกันอยู ทําใหตอง
                       อาศัยอยูกับปู ยา ตา ยาย หรือญาติ ซึ่งขาดการดูแลเอาใจใสจากพอแม ขาดการสนับสนุน วัสดุ/

                       อุปกรณการเรียน รวมถึงสื่อที่จําเปนสําหรับการเรียนการสอนในยุคที่ตองใชระบบสารสนเทศในการ
                       เรียนการสอน ประกอบกับสถานะทางรายไดสวนใหญเปนครอบครัวที่มีอาชีพทําการเกษตร และ
                       รับจางทั่วไป จึงมีรายไดนอย ไมสามารถจัดหาอุปกรณทางการศึกษามาชวยสนับสนุนการเรียนการ

                       สอนไดอยางเต็มที่ สงผลใหเด็กเยาวชนขาดโอกาสการเขาถึงการศึกษา ไมสามารถเรียนใหจบ
                       การศึกษาในระดับที่คาดหวังได สงผลตอการประกอบอาชีพ และรายไดในการพัฒนา หรือยกระดับ
                       คุณภาพชีวิตความเปนอยูในครอบครัวใหดีขึ้นได จนทําใหกลายมาเปนปญหาทางดานสังคม
                                     ดังนั้นที่มาของปญหาดังกลาวจึงเกิดจาก (1) เด็ก เยาวชน ที่อยูในครอบครัวพอแม

                       หยารางแยกทางกันอยู ตองอยูกับ ปู ยา ตา ยาย หรือญาติ สวนใหญมีรายไดนอย (2) ครอบครัวมี
                       รายไดนอยมีภาระคาใชจายมาก ไมสามารถจัดหาสื่อ อุปกรณการเรียน หรือเครื่องมือสื่อสารได (3) ปู
   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233