Page 111 - kpiebook65066
P. 111
44
ภาพที่ 2.3 การดําเนินโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กดอยโอกาสนอกระบบการศึกษาในเขต
เทศบาลเมืองนราธิวาส ของเทศบาลเมืองนราธิวาส
2.1.8 โครงการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา (หองเรียนออนไลน และแทบเล็ตยืม
เรียน เพื่อสรางโอกาสทางการศึกษาเทศบาลนครยะลา) ของเทศบาลนครยะลา
1) บริบทของโครงการ ดวยจังหวัดยะลาตองรับมือกับสถานการณการแพรระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 เปนพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดงเขม) ซึ่งขอมูล ณ วันที่ 31
กรกฎาคม 2564 จากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา มีผูติดเชื้อรายใหมเพิ่มขึ้น 168 คน และ
ติดเชื้อสะสม 7,122 คน และจังหวัดยะลาไดมีคําสั่งจากศูนยบริหารสถานการณโควิด-19 จังหวัด
ยะลา คําสั่งที่ 201/2564 ขยายระยะเวลาการดําเนินการตามมาตรการสําหรับบุคคลที่เดินทางเขา
– ออก พื้นที่จังหวัดยะลา ทําใหสงผลกระทบตอโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครยะลา ที่ตองถูกสั่งปดอยาง
ตอเนื่องโดยไมมีกําหนดเปด เพื่อปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทําใหเทศบาลไม
สามารถจัดการเรียนการสอนในหองเรียนไดตามปกติ ดวยเหตุนี้เทศบาลนครยะลาจึงไดมีการ
ปรับเปลี่ยนมาเปนการจัดการเรียนการสอนออนไลน ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ โดยเริ่ม
ตั้งแตภาคเรียนที่ 1/2564 วันที่ 15 มิถุนายน 2564 เปนตนไป
อยางไรก็ตาม เมื่อเทศบาลนครยะลาไดทําการสํารวจขอมูลทําใหสรุปไดวา มี
นักเรียนเพียงรอยละ 62.38 เทานั้นที่มีความพรอมในการเรียนออนไลน สวนนักเรียนรอยละ 37.62
ไมมีความพรอม โดยสาเหตุหลักมาจากครอบครัวมีฐานะยากจน มีรายไดไมเพียงพอตอการสนับสนุน
อุปกรณสื่อสารการเรียนการสอนบุตรหลาน ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร แท็บเล็ต โนตบุค อินเตอรเน็ต
ภายในบาน หลายคนแมจะมีโทรศัพทสมารทโฟนแตตองเติมเงินเปนครั้ง ๆ การเขาถึงอินเทอรเน็ตจึง
ทําไดจํากัด ยังไมรวมถึงการไมมีสัญญาณโทรศัพทในละแวกบาน หรือการมีสัญญาณที่
เสถียรตลอดเวลา สงผลใหเด็กเสียโอกาสในการเรียนรู และทําใหเกิดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
เพิ่มมากขึ้น
จากปญหาดังกลาว เทศบาลนครยะลาจึงเห็นวาการจัดหองเรียนออนไลน
และแทบเล็ตยืมเรียนเปนเรื่องสําคัญ เพื่อสรางโอกาสทางการศึกษาใหกับเด็ก และเยาวชนในเขต
เทศบาลนครยะลา
เทศบาลนครยะลาจึงไดดําเนินโครงการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา (หองเรียน
ออนไลนและแทบเล็ตยืมเรียน เพื่อสรางโอกาสทางการศึกษาเทศบาลนครยะลา) ขึ้น โดยมี