Page 115 - kpiebook65066
P. 115

48






                       เรกจิโอ เอมีเลีย (2) เพื่อการจัดประสบการณเด็กปฐมวัยโดยใชแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย โดยผูปกครอง
                       และชุมชนมีสวนรวม และ (3) เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยใหครบทั้ง ๔ ดาน โดยใชแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย
                       โดยมีกลุมเปาหมายหลัก ไดแก เด็กปฐมวัยปฐมวัย อายุ 2 – 5 ป ในสังกัดเทศบาลเมืองลําพูนจํานวน
                       ๔๐๐ คน นอกจากนี้ยังมีกลุมเปาหมายที่เกี่ยวของ ไดแก ครูปฐมวัยสังกัดเทศบาลเมืองลําพูน 2๘ คน

                       ผูบริหารสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองลําพูน 5 คน บุคลากรสนับสนุนโครงการ 10 คน ผูปกครอง
                       ๔00 คน และชุมชนในเขตเทศบาลเมืองลําพูน 17 ชุมชน โดยเทศบาลเมืองลําพูนไดวางแผนดําเนิน
                       โครงการโดยโครงการดังกลาวนี้เปนโครงการตอเนื่อง เริ่มตั้งแต วันที่ 25 พฤษภาคม 2564 ถึง
                       พฤษภาคม 2565

                                     2) ผลการติดตามโครงการ
                                            (2.1) เทศบาลไดจัดประชุมชี้แจงสภาพปญหารูปแบบการจัดประสบการณ
                       ของครูปฐมวัยในสถานศึกษาของสังกัดเทศบาลเมืองลําพูน ไดดําเนินกิจกรรมการศึกษาดูงานโรงเรียน
                       มงคลวิทยา เรื่องแนวการจัดการเรียนรูแบบ Project Approach สําหรับเด็กปฐมวัยเมื่อวันที่ 11

                       มิถุนายน 2564 หลังจากนั้นไดจัดอบรมเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณเด็กปฐมวัย
                       โดยใชแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย ในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลลําพูนเพื่อลดความเหลื่อมล้ําดานสังคม
                       และการศึกษา เมื่อวันที่ 12-13 มิถุนายน 2564 รวมถึงจัดอบรมเรื่องการพัฒนารูปแบบการจัด

                       ประสบการณเด็กปฐมวัยโดยใชแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลียในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลลําพูนเพื่อลด
                       ความเหลื่อมล้ําดานสังคม และการศึกษา การปรับหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย
                                            (2.2) เทศบาลไดจัดสภาพหองเรียนตามแนวคิด เรกจิโอ เอมิเลีย โดยขั้นที่
                       1 ขั้นเตรียมการ ไดมีการจัดมุมกิจกรรมตาง ๆ ในหองเรียน ไดแก มุมบทบาทสมมุติ มุมบล็อก มุม
                       นิทาน มุมดนตรี มุมภาษา และมุมศิลปะ ขั้นที่ 2 ขั้นกําหนดโครงการ เลือกหัวขอโครงการตาม

                       แนวคิดเรกจิโอ เอมิเลีย ขั้นที่ 3 ขั้นวางแผนการเรียนรู ขั้นที่ 4 ขั้นเรียนรู เชน กิจกรรมวาดลายเสน
                       กิจกรรมสีน้ําพาเพลิน กิจกรรมศิลปะการปน กิจกรรมศิลปะนิทาน 4 ชอง กิจกรรมอาหารที่ทําจาก
                       ไข-ไขทอดครก กิจกรรมวิทยาศาสตร กิจกรรมแหลงเรียนรูในโรงเรียน กิจกรรมศึกษาแหลงเรียนรู

                       ภายนอกโรงเรียน และขั้นที่ 5 ขั้นประเมินพัฒนาการ การวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรม การประเมิน
                       พัฒนาการกอนหลัง
                                            (2.3) มีการสรุป และประเมินรูปแบบการจัดประสบการณของเด็กปฐมวัย
                       โดยใชแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย ในทุกครั้งที่เสร็จสิ้นกิจกรรม ดวยเครื่องมือวัด และประเมินพัฒนาการ

                       ที่รวมกันออกแบบ และไดถอดบทเรียน รวมกันสะทอนคิด เพื่อใหไดมาซึ่งแนวทางที่จะนําไปสูการ
                       ปรับประยุกตใชใหมีความเหมาะสม และสอดรับกับความตองการของเด็กปฐมวัยไดอยางทั่วถึง และ
                       เทาเทียมกัน โดยสามารถสรุปผลการประเมินการจัดการเรียนรู ไดดังนี้ (1) เด็กปฐมวัยมีความสุข มี
                       ความอยากรูอยากเห็น มีความกลาคิด กลาแสดงออกมากยิ่งขึ้น (2) เด็กทุกคนสามารถเขาถึงอุปกรณ

                       การเรียนรู เครื่องเลนสงเสริมพัฒนาการ และเขาถึงเรียนรูในสิ่งแวดลอมที่ดีที่สถานศึกษาจัดไวอยาง
                       เหมาะสม ทั้งภายใน และภายนอกหองเรียน ซึ่งอาจไมไดพบเจอในขณะอยูที่บาน (3) เด็กทุกคนได
                       เรียนรูการทํางานรวมกัน โดยครูเปนผูสนับสนุนการจัดกิจกรรมที่มุงเนนใหมีการจัดกิจกรรมเปนกลุม
                       เพื่อสรางสังคมแหงการเรียนรู การอยูรวมกัน ชื่นชม และภูมิใจในผลงานของตนเอง และเพื่อน ๆ (4)

                       ครูปฐมวัยทุกคน สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูไดอยางหลากหลายยิ่งขึ้น และตองมีการพัฒนาตนเอง
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120