Page 76 - kpiebook65024
P. 76

75



                  3) ส่วนราชการในพระองค์เป็นองค์กรที่ไม่มีกลไกการก�ากับวินัย


                  ข้อวิพากษ์วิจารณ์นี้เกิดจากการเปรียบเทียบข้าราชการทั่วไปที่ต้องอยู่ภายใต้
           กลไกการก�ากับวินัย เช่น การห้ามมิให้เป็นไม่เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษา

           ในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่าง ๆ เพื่อป้องกันการมีผลประโยชน์ทับซ้อน กับข้าราชการ
           ในพระองค์ที่มีเพียงข้าราชการในพระองค์ฝ่ายทหารและข้าราชการในพระองค์

           ฝ่ายต�ารวจเท่านั้นที่อยู่ภายใต้กลไกการก�ากับวินัยตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร หรือ
           พระราชบัญญัติต�ารวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 แล้วแต่กรณี ส่วนองคมนตรีและข้าราชการ

           ในพระองค์ฝ่ายพลเรือนนั้นไม่มีกฎหมายระบุถึงการก�ากับวินัยเอาไว้ โดยมีการยกตัวอย่าง
           ถึงกรณีที่พลอากาศเอก สถิตย์พงษ์ สุขวิมล เลขาธิการพระราชวัง ไปด�ารงต�าแหน่งเป็น

           ประธานคณะกรรมการบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จ�ากัด (มหาชน) และไปเป็นกรรมการที่ไม่
           เป็นผู้บริหารของธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งองค์กรธุรกิจทั้งสองมีพระบาท

           สมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (iLaw, 2564)

                  ด้วยความเคารพต่อมุมมองของผู้วิพากษ์วิจารณ์ ผู้เขียนมีความเห็นว่า

           การพิจารณาประเด็นดังกล่าวจะต้องแยกกรณีที่องคมนตรีหรือข้าราชการในพระองค์
           ฝ่ายพลเรือนไปเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือที่ปรึกษาในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่าง ๆ

           เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือคนใกล้ชิด กับกรณีการกระท�าเช่นเดียวกันแต่เพื่อประโยชน์
           ของพระมหากษัตริย์ออกจากกัน โดยกรณีแรกนั้นผู้เขียนเห็นด้วยอย่างยิ่งว่าจะต้องมี

           กลไกการก�ากับวินัย เพื่อป้องกันไม่ให้องคมนตรีหรือข้าราชการในพระองค์ฝ่ายพลเรือน
           ใช้ประโยชน์จากต�าแหน่งหน้าที่ข้าราชการในพระองค์เอื้อประโยชน์ให้แก่กิจการเอกชน

           ที่ตนเองหรือคนใกล้ชิดมีส่วนได้เสียอยู่ ซึ่งไม่เพียงแต่จะเป็นการแสวงหาประโยชน์
           โดยมิชอบแล้ว ยังสร้างความเสื่อมเสียไปถึงพระมหากษัตริย์ซึ่งไว้วางพระราชหฤทัย

           แต่งตั้งบุคคลผู้นั้นให้มาเป็นข้าราชการในพระองค์อีกด้วย ซึ่งพระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบ
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81