Page 323 - kpiebook65024
P. 323
322 ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย
หรืออ�านาจอธิไตยออกเป็นส่วน ๆ โดยก�าหนดให้มีองค์กรที่เป็นผู้ใช้อ�านาจอธิไตย
หลายองค์กร ทั้งนี้ ก็เพื่อให้องค์กรที่ใช้อ�านาจอธิปไตยเหล่านั้น สามารถตรวจสอบและ
ถ่วงดุล การใช้อ�านาจขององค์ผู้ใช้อ�านาจปกครองด้วยกันเองได้อย่างเหมาะสมนั้นเอง
โดยการแบ่งแยกอ�านาจเป็นหลักการทางเทคนิคทางรัฐธรรมนูญโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ
ป้องกันการผูกขาดอ�านาจและเพื่อเป็นการรับประกันเสรีภาพองประชาชน ดังปรากฏ
ในมาตรา 16 ของค�าประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (Déclaration des droits
de l’homme et du citoyen) ลงวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1789 ที่ว่า “สังคมใด
ไม่มีก�รให้หลักประกันในก�รคุ้มครองสิทธิเสรีภ�พหรือไม่มีก�รแบ่งแยกก�รใช้
อำ�น�จอธิปไตย จะถือว่�มีรัฐธรรมนูญไม่ได้” โดยผลของหลักการนี้ ประเทศต่าง ๆ
ในโลกรวมทั้งประเทศไทยก็ได้น�าเอาหลักการนี้มาใช้เป็นเครื่องมือในการจ�ากัดและ
ตรวจสอบการใช้อ�านาจของรัฐในลักษณะต่าง ๆ ในเวลาต่อมา
2.2 หลักความชอบด้วยกฎหมาย
จากหลักการพื้นฐานของนิติรัฐ ที่ก�าหนดให้การด�าเนินการของรัฐต้องด�าเนิน
การโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกฎหมาย ซึ่งกฎเกณฑ์ที่เรียกว่ากฎหมายแต่ละกฎเกณฑ์
ต่างมีศักดิ์หรือฐานะสูงต�่าต่างกัน และภายใต้กฎเกณฑ์แห่งกฎหมายเหล่านั้นย่อมมี
ผลใช้บังคับและผูกพันองค์กรของรัฐให้ต้องเคารพและปฏิบัติตาม หลักการดังกล่าว
ปรากฏตัวชัดเจนมากขึ้นภายหลังจากคดี Marbury v. Madison ใน ค.ศ. 1803
ที่ศาลสูงสหรัฐมีค�าพิพากษาต่อกรณีการกระท�าของฝ่ายนิติบัญญัติโดยให้เหตุผลว่า
“แม้รัฐสภาเป็นองค์กรผู้แทนประชาชนเจ้าของอ�านาจอธิปไตยเองก็ตาม แต่รัฐสภา
ย่อมไม่อาจกระท�าการที่เป็นการขัดต่อกฎหมายและรัฐธรรมนูญเสียเอง” ภายหลัง
หลักการดังกล่าวได้ขยายความครอบคลุมไปถึงองค์กรของรัฐอื่น โดยไม่เพียงเฉพาะ