Page 125 - kpiebook65024
P. 125

124   ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย




        เพื่อมุ่งหวังผลเฉพาะที่มีวัตถุประสงค์ทางการเมือง หรือเพื่อรักษาอ�านาจทางการเมือง

        และผลประโยชน์ของกลุ่มอิทธิพลและผลประโยชน์ทางการเมือง จนกลายเป็น
        การละเลยหรือไม่ให้ความส�าคัญกับนโยบายอื่นที่รัฐบาลไม่ตระหนักว่ามีประโยชน์โดยตรง

        ต่อรัฐบาลเอง (จารุวรรณ สุขุมาลพงษ์, 2565) ดังนั้น ในทางการเมืองการปกครอง
        การก�าหนดให้มีแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐในรัฐธรรมนูญจึงมีเหตุผลที่ส�าคัญที่สุด

        คือเพื่อรักษาประโยชน์สูงสุดให้กับประชาชน และเพื่อเป็นหลักประกันให้กับ
        ประชาชนในการได้รับสิทธิ เสรีภาพ และการคุ้มครองจากรัฐทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ

        และสังคม

               นอกจากนี้ บางครั้งอ�านาจในการบริหารปกครองบ้านเมืองอยู่ในมือของบุคคล

        คนเดียวอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ไม่ว่าผู้ปกครองประสงค์จะก�าหนดนโยบายบริหาร
        ประเทศไปในลักษณะใดก็ตาม ก็สามารถใช้อ�านาจท�าได้ตามอ�าเภอใจเนื่องจากไม่มี

        หลักเกณฑ์ใด ๆ มาควบคุมตรวจสอบได้ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้ปกครอง ผู้ปกครอง
        คนใหม่ที่เข้ามาบริหารแทนก็อาจจะน�าพาประเทศชาติไปในทิศทางใด ๆ ก็ได้ตามที่

        เห็นสมควร ฉะนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่อาจจะเกิดขึ้น จึงเกิดแนวคิดที่จะให้มี
        การก�าหนดแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐเอาไว้ให้ชัดเจนในรัฐธรรมนูญ เพื่อให้รัฐบาล

        ยึดถือเป็นแนวทางในการบริหารปกครองและก�าหนดทิศทางของประเทศชาติ แม้รัฐบาล
        จะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันมากี่ชุดก็จะต้องปฏิบัติตามกรอบของแนวนโยบายพื้นฐาน

        แห่งรัฐทั้งสิ้น แนวทางในการบริหารปกครองประเทศก็จะมีความเป็นเอกภาพมั่นคง
        อีกทั้งการที่น�าแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐมาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกฎหมาย

        สูงสุดของประเทศย่อมเป็นการสร้างหลักประกันในการก�าหนดนโยบายที่ดีให้แก่
        ประชาชนได้อีกด้วย ดังนั้น แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐจึงถือเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการ

        ก�าหนดทิศทางและแสดงถึงอุดมการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติ
        และยังสามารถใช้เป็นแนวทางบริหารปกครองประเทศ และเป็นหลักประกันในการก�าหนด
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130