Page 46 - kpiebook65022
P. 46
สรุปจ านวนกลุ่มตัวอย่างทุติยภูมิดังตารางต่อไปนี้
ตาราง 3.2 เอกสารด้านการเมืองสิ่งแวดล้อมที่สืบค้นตามเกณฑ์วิจัย
จ านวนชิ้น
เอกสาร ฐานข้อมูล ขั้นที่ 1 ใช้ค าค้น ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3
บังคับ วิเคราะห์ คัดเลือกเอกสาร
เบื้องต้นจากชื่อ ที่มีระเบียบวิธี
เรื่องและ วิจัยชัดเจน
บทคัดย่อ
ภาษาไทย ThaiLIS 23 23 19
a
b
(ไม่จ ากัดปี – พ.ศ2564) ThaiJO 263 18 18
c
Google Scholar 170 14 12
รวม 456 55 49
d
ภาษาอังกฤษ Google Scholar 1,740 280 110
e
(ไม่จ ากัดปี – ค.ศ. EBSCO 184 105 44
2021)
รวม 1,924 385 154
a
b
หมายเหตุ สืบค้น ณ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ.2564 ด้วยค าค้น “การเมือง” และ “สิ่งแวดล้อม” / สืบค้น ณ วันที่ 22
c
มิถุนายน พ.ศ.2564 ด้วยค าค้น “การเมืองสิ่งแวดล้อม” ในชื่อเรื่องและบทคัดย่อของบทความ / สืบค้น ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์
พ.ศ.2564 ใช้การค้นหาขั้นสูงจากค าค้นทั้งหมด โดยให้มีวลีเหล่านั้นในทุกที่ของเอกสาร / สืบค้นระหว่าง 18 พฤศจิกายน
d
e
พ.ศ.2563 – 28 มกราคม พ.ศ.2564 ใช้การค้นหาขั้นสูงจากค าค้นทั้งหมด โดยให้มีวลีเหล่านั้นในทุกที่ของเอกสาร / สืบค้น
ณ 1 มีนาคม พ.ศ.2564 ใช้การค้นหาขั้นสูงสืบค้นจากค าค้นทั้งหมด โดยให้มีวลีเหล่านั้นในทุกที่ของเอกสาร
3.2 วิธีการวิจัยและเครื่องมือ
วิธีวิจัยและเครื่องมือการเก็บข้อมูลแบ่งตามกลุ่มตัวอย่างข้อมูลแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ กลุ่มตัวอย่าง
เพื่อเก็บข้อมูลปฐมภูมิเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่ม ประเด็นการสัมภาษณ์ ได้แก่
1. วิวัฒนาการและประเด็นส าคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมแต่ละยุคเป็นอย่างไรบ้าง
2. ความส าเร็จในการขับเคลื่อนประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมามีเรื่องใดบ้าง
3. อุปสรรคที่ส าคัญในการขับเคลื่อนประเด็นสิ่งแวดล้อม (ทั้งภายในและภายนอก อาทิ ด้านกฎหมาย
ด้านกระบวนการจัดการ ด้านทรัพยากร ด้านภาครัฐ) ที่ส่งผลให้การขับเคลื่อนด้านสิ่งแวดล้อมไม่อาจไปสู่
การพัฒนาที่ยั่งยืนได้มีอะไรบ้าง
4. กรณีศึกษาที่เป็นประเด็นส าคัญต้องได้รับการแก้ไขเร่งด่วน หรือต้องมีการขับเคลื่อนจากภาครัฐ
ชุมชน และประชาสังคม มีอะไรบ้าง
5. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเมืองสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
อย่างไร
33