Page 168 - kpiebook65022
P. 168
รวมถึงในสังคมที่มีโอกาสทางการเมืองมากกว่า ซึ่งมี NGOs จ านวนมาก และมีความเป็นประชาธิปไตยมากกว่า
(Tam, 2019)
อย่างไรก็ดี การเคลื่อนไหวของกลุ่มหรือองค์กรเหล่านี้แม้มีหลายรูปแบบและปรับใช้กลยุทธ์
มาต่อสู้ก็ตาม ก็ยังคงมีหลายองค์กรที่ไม่ประสบความส าเร็จ ดังพบว่า กลุ่มเอ็นจีโอสิ่งแวดล้อมในเซี่ยงไฮ้ของ
ประเทศจีนมีบทบาทโดดเด่นในการตอบสนองต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม แต่การศึกษาบทบาทเอ็นจีโอด้าน
สิ่งแวดล้อมในเซี่ยงไฮ้ในการเมืองสีเขียวยังคงมีข้อจ ากัด (Grano, 2012)
2) ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยประเด็นความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม พบว่า เป็นเรื่องของการ
แบ่งสรรอ านาจในการตัดสินใจและจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมให้กับท้องถิ่นตลอดจนประชาสังคม โดยต้องมี
ช่องทางหรือกลไกสนับสนุนด้วย ได้แก่ Kitchen เสนอว่าควรมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การสนับสนุนเงินทุนและความเป็นอิสระของท้องถิ่น ที่ส าคัญคือการสื่อสาร ข้อมูลข่าวสาร และการโต้เถียงควร
มีมากขึ้น เพื่อให้เกิดการเติบโตของกระบวนการการเมืองในเมืองนี้มากขึ้น (Kitchen, 2000) หรือ Grano
เสนอว่า ควรมีุการศึกษาเชิงประจักษ์เกี่ยวกับบทบาทเอ็นจีโอด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลทางสถิติเพื่อให้ได้
ข้อสรุปที่ชัดเจนขึ้น (Grano, 2012)
ล าดับที่สี่ ประเด็นทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources)
การศึกษาการเมืองสิ่งแวดล้อมในประเด็นด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ
การจัดการทรัพยากรร่วมของชุมชน การเคลื่อนไหวทางสังคมของภาคประชาชนต่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรดิน น้ า ทะเลและชายฝั่ง ป่าไม้ สัตว์ป่า แร่ธาตุ และ
อื่น ๆ อีกทั้ง ยังมีประเด็นในเรื่องของการสร้างเหมือง เขื่อน โดยมีกรณีศึกษาต่าง ๆ ทั้งนี้ จากการค้นคว้า
เอกสารวิจัยเรื่องการเมืองสิ่งแวดล้อมจาก 2 ฐานข้อมูล พบงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับประเด็น
ทรัพยากรธรรมชาติ จ านวน 11 เรื่อง ซึ่งมีสาระส าคัญโดยสรุป ดังนี้
1) เรื่องงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทรัพยากรธรรมชาติ อาจแบ่งได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ งานวิจัย
เกี่ยวกับประเด็นทรัพยากรธรรมชาติเชิงแนวคิด งานวิจัยเกี่ยวกับประเด็นทรัพยากรธรรมชาติเชิงโครงสร้าง
และงานวิจัยเกี่ยวกับประเด็นทรัพยากรธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับบทบาทภาคส่วนต่าง ๆ
ในส่วนของ งานวิจัยเกี่ยวกับประเด็นทรัพยากรธรรมชาติเชิงแนวคิด ได้แก่ Rethinking the
nature of urban environmental politics: Security, subjectivity, and the non-human (Grove,
2009) ที่ศึกษาปัจจัยบังคับ (Forces) ที่อาจจะหรืออาจจะไม่เอื้อให้เกิดการตระหนักต่อศักยภาพของสิ่งที่ไม่ใช่
มนุษย์ ได้แก่ แรงบังคับทางการเมือง หรือปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมที่อาจเป็นความยุ่งยากในการจัดการ
สิ่งแวดล้อมเมืองในสหรัฐอเมริกา
งานวิจัยเกี่ยวกับประเด็นทรัพยากรธรรมชาติเชิงโครงสร้าง ได้แก่ งานวิจัย The Local
Politics of Decentralized Environmental Policy in Guatemala (Gibson and Lehoucq, 2003)
ที่ศึกษาเงื่อนไขที่น าไปสู่การกระจายอ านาจทางสิ่งแวดล้อมในการจัดการผืนป่าที่ส าเร็จของประเทศก าลัง
พัฒนาอย่างกัวเตมาลา งานวิจัย The Multilevel Politics of Enforcement: Environmental Institutions
in Argentina (Milmanda and Garay, 2019) ศึกษาเกี่ยวกับการติดตามการบังคับใช้ระบอบการปกป้อง
ผืนป่าของชนพื้นเมือง (Native Forest Protection Regime: NFPR) งานวิจัย Enlightened System” or
“Regulatory Nightmare”?: New York's Adirondack Mountains and the Conflicted Politics of
155