Page 36 - kpiebook65019
P. 36

35



                   สิทธิของชุมชนที่จะฟ้องหน่วยรำชกำร หน่วยงำนของรัฐ รัฐวิสำหกิจ
           รำชกำรส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติหน้ำที่

           ตำมบทบัญญัตินี้ย่อมได้รับควำมคุ้มครอง” และโดยผลของรัฐธรรมนูญแห่ง
           ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังกล่าวท�าให้เกิดการเคลื่อนไหวในทางสังคม

           โดยใช้กระบวนการรัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) ในการผลักดันให้รัฐสภา
           รัฐบาล และระบบราชการด�าเนินการจัดท�าพระราชบัญญัติ แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย

           กฎระเบียบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
           พุทธศักราช 2550 รวมถึงชุมชนต่าง ๆ ลุกขึ้นมาใช้สิทธิของชุมชนในการด�าเนินการ

           ต่าง ๆ ตามที่รัฐธรรมนูญรับรองสิทธิไว้อย่างจริงจังและต่อเนื่อง


                   และส�าหรับบทบัญญัติสิทธิชุมชนภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
           พุทธศักราช 2560 เมื่อเปรียบเทียบกับบทบัญญัติที่เกี่ยวกับสิทธิชุมชนที่ปรากฎ
           ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ พุทธศักราช 2550

           แล้วจะพบว่าบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิชุมชนของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

           พุทธศักราช 2560 มีกรอบเนื้อหาที่เป็นการวางหลักการส�าคัญของเนื้อหาสิทธิชุมชน
           แต่ที่เป็นจุดเด่นคือการระบุให้ชุมชนมี “อ�ำนำจในกำรจัดกำร” ในระดับพื้นที่
           กำรเสนอควำมเห็นต่อหน่วยงำนของรัฐ กำรจัดท�ำระบบสวัสดิกำรของชุมชน

           รวมตลอดถึงกำรสร้ำงกลไกให้เกิดควำมร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

           ในกำรใช้สิทธิต่ำง ๆ ของชุมชน 11

           11   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
               มาตรา 43 บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ
               (1) อนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณี
           อันดีงามทั้งของท้องถิ่นและของชาติ
               (2) จัดกำร บ�ำรุงรักษำ และใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติ สิ่งแวดล้อม และ
           ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพอย่ำงสมดุลและยั่งยืนตำมวิธีกำรที่กฎหมำยบัญญัติ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41