Page 35 - kpiebook65019
P. 35
34 ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีและควรแก้ไขตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 :
สิทธิชุมชน ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
สิทธิชุมชนออกไปมากกว่าขอบเขตสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 โดยนอกจากยังคงขอบเขตเนื้อหาสิทธิชุมชนเดิมแล้ว ยังเพิ่ม
บทบัญญัติที่เป็นการคุ้มครอง “สิทธิชุมชน” ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 โดยในมาตรา 66 บัญญัติว่า “บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน
ชุมชนท้องถิ่น หรือ ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติ และมีส่วนร่วม
ในการจัดการการบ�ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล และยั่งยืน” เป็นกำรก�ำหนดให้
สิทธิชุมชนมีผลทันทีพร้อม ๆ กับกำรที่รัฐธรรมนูญมีผลบังคับใช้โดยไม่ต้องไป
จัดท�ำรำยละเอียดต่ำง ๆ หรือต้องไปอยู่ภำยใต้ข้อจ�ำกัดของกฎหมำย หรือกฎใด ๆ
ด้วยเหตุควำมเป็นกฎหมำยสูงสุดของรัฐธรรมนูญกฎหมำยใดจะขัดแย้งมิได้
อีกทั้งยังขยำยประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับครอบคลุมไปถึงนอกจำกทรัพยำกรธรรมชำติ
สิ่งแวดล้อมแล้ว ยังรวมถึงควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพด้วย
และนอกจากนั้น ในประการส�าคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 ในมาตรา 67 วรรค สอง และ สาม ที่บัญญัติรับรองและขยาย
สิทธิของชุมชนว่า “กำรด�ำเนินโครงกำรหรือกิจกรรมที่อำจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ชุมชนอย่ำงรุนแรงทั้งทำงด้ำนคุณภำพสิ่งแวดล้อม ทรัพยำกรธรรมชำติ และสุขภำพ
จะกระท�ำมิได้เว้นแต่จะได้ศึกษำและประเมินผลระทบต่อคุณภำพสิ่งแวดล้อม
และสุขภำพของประชำชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนกำรรับฟังควำมคิดเห็น
ของประชำชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์กำรอิสระซึ่งประกอบด้วย
ผู้แทนองค์กำรเอกชนด้ำนสิ่งแวดล้อมและสุขภำพ และผู้แทนสถำบันอุดมศึกษำ
ที่จัดกำรกำรศึกษำด้ำนสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยำกรธรรมชำติหรือด้ำนสุขภำพ
ให้ควำมเห็นประกอบก่อนมีกำรด�ำเนินกำรดังกล่ำว