Page 18 - kpiebook65018
P. 18
17
4
ให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นด้วย อันรวมถึงสิทธิที่จะเรียกร้องให้หน่วยงานของรัฐ
กระท�าการหรือไม่กระท�าการใด ๆ เพื่อตนได้ในทุกกรณี 5
หากพิจารณาถึงสาระส�าคัญของค�าว่า “สิทธิ” แล้ว ศำสตรำจำรย์ ดร.สมคิด
เลิศไพฑูรย์ ได้สรุปลักษณะสาระส�าคัญของค�าว่า “สิทธิ” ไว้หลายประการด้วยกัน
กล่าวคือ 6
“(1) สิทธินั้นจะเป็นประโยชน์ต่อเจ้าของสิทธิที่จะเลือกใช้สิทธิ สิทธิจะ
เป็นการรับรองให้เจ้าของสิทธิมี “อ�านาจ” สามารถ “ใช้” สิทธินั้นได้
หรืออาจจะไม่ใช้สิทธินั้นได้ตามเจตจ�านงของเจ้าของสิทธิในบางกรณี
ก็อาจจะให้ผู้อื่นใช้สิทธิของตนแทนได้
(2) สิทธินั้นเรียกร้องให้ผู้อื่นมีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิของตนนั้น กล่าวคือ
ถ้าเป็นสิทธิในทางแพ่ง จะสามารถเรียกร้องต่อทรัพย์ (ทรัพยสิทธิ)
บุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องยอมรับและไม่ละเมิดต่อสิทธิในทรัพย์อันผู้อื่น
มีสิทธิอยู่นั้น หรือเรียกร้องให้บุคคลด�าเนินการหรือไม่ด�าเนินการใด ๆ
(บุคคลสิทธิ) หรือในทางกฎหมายมหาชน สิทธินั้นจะเรียกร้องให้รัฐ
โดยหน่วยงานของรัฐ กระท�าการ หรือไม่กระท�าการใด ๆ เพื่อตน
4 วรพจน์ วิศรุตพิชญ์, สิทธิและเสรีภำพตำมรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพมหานคร, วิญญูชน) 2538,
หน้า 21.
5 วรพจน์ วิศรุตพิชญ์, รำยงำนกำรวิจัย สิทธิและเสรีภำพตำมรัฐธรรมนูญ (ศึกษำรูปแบบ
กำรจ�ำกัดสิทธิเสรีภำพที่รัฐธรรมนูญให้ไว้อย่ำงเหมำะสม), (กรุงเทพมหานคร : ส�านักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย, 2538), หน้า 17.
6 สมคิด เลิศไพฑูรย์, กฎหมำยรัฐธรรมนูญ หลักกำรใหม่ตำมรัฐธรรมนูญแห่งอำณำจักรไทย
พุทธศักรำช 2540, (กรุงเทพมหานคร: ส�านักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548), หน้า 46-47.