Page 27 - kpiebook65017
P. 27

26   ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีและควรแก้ไขตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 :
          การคลังสาธารณะ

        1.4 หลักการริเริ่มทางการคลังเป็นอ�านาจของฝ่ายบริหาร

        และหลักการห้ามฝ่ายนิติบัญญัติในการริเริ่มก�าหนดรายจ่าย

        แผ่นดิน


                ในหัวข้อนี้ จะเริ่มจากการอธิบายสาระส�าคัญของหลักการริเริ่มทางการคลัง

        เป็นอ�านาจของฝ่ายบริหาร จากนั้นจะได้อธิบายหลักการห้ามฝ่ายนิติบัญญัติในการริเริ่ม
        ก�าหนดรายจ่ายแผ่นดินเป็นล�าดับถัดไป




                         1.4.1 หลักการริเริ่มทางการคลัง
                            เป็นอ�านาจของฝ่ายบริหาร


                หลักการริเริ่มทางการคลังเป็นอ�านาจของฝ่ายบริหาร เป็นหลักพื้นฐานทาง

        กฎหมายการคลังที่เรียกร้องให้เสนอหรือเพิ่มเติมรายจ่ายของรัฐเป็นอ�านาจเด็ดขาด
        ของฝ่ายบริหาร หลักการนี้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ และมีวิวัฒนาการ

        มาอย่างยาวนาน จนกระทั่งได้รับการยอมรับให้เป็นหลักกฎหมายระดับรัฐธรรมนูญ
        จารีตประเพณี สาระส�าคัญของหลักการนี้คือ ฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งเป็นองค์กรที่อ�านาจ

        เด็ดขาดในการให้ความยินยอมให้มีการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน ผ่านกลไกการอนุมัติ
        ร่างกฎหมายงบประมาณของฝ่ายบริหาร ไม่สามารถเสนอเรื่องเกี่ยวกับการคลัง

        สาธารณะ เช่น การจัดเก็บรายได้ การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน การก่อหนี้สาธารณะของ
        รัฐได้ โดยอ�านาจในการเสนอเรื่องเหล่านี้ เป็นเอกสิทธิ์เฉพาะของฝ่ายบริหารเท่านั้น

        กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ สมาชิกรัฐสภาสามารถเสนอเรื่องบางเรื่องต่อฝ่ายนิติบัญญัติได้
                                                               25
        แต่หากเป็นเรื่องเกี่ยวกับการคลังสาธารณะแล้วไม่สามารถเสนอได้  โดยฝ่ายบริหาร

        25    Walter Bagehot, The English Constitution (New York: Cosimo Classics, 2007)
        136 อ้างถึงใน ยงยุทธ ภู่ประดับกฤต, (เชิงอรรถที่ 21) 53.
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32