Page 54 - kpiebook65001
P. 54

สถาบันพระปกเกลา  :  การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย


                             เสนอ :  ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม


              ทองถิ่นและเปนสิทธิของครอบครัวที่จะไดรับบริการการศึกษากอนวัยเรียน โดยไมเก็บ

              คาใชจาย และเด็กยังคงไดรับบริการจากศูนยรับเลี้ยงเด็ก


                     นอกจากนี้ ศูนยรับเลี้ยงเด็กแบบครอบครัว โดยหญิงผูดูแล 1 คนรับดูแลเด็ก

              ในละแวกบาน 5-6 คน จะไดรับการสนับสนุนงบประมาณสวนหนึ่งจากรัฐบาล คาใชจาย
              สวนใหญเปนภาระของผูปกครองที่มีงานทํา โดยผูหญิงกลุมนี้ไดรับการอบรมในการดูแลเด็ก

              ภารกิจหลักคือการจัดอาหารใหเด็ก จัดใหเลนอยางปลอดภัย โดยไมมีขอกําหนดใหตอง

              “สอน”อะไรแกเด็ก

                     การศึกษาพื้นฐานซึ่งเปนการศึกษาแบบใหเปลาสําหรับทุกคน โดยองคกรทองถิ่น

              รับผิดชอบในการจัดและกํากับดูแลการศึกษาพื้นฐาน โดยรัฐบาลใหงบประมาณสนับสนุน

              พรอมทั้งจัดหาอุปกรณการเรียนการสอน อาหาร 1 มื้อ ใหนักเรียนทุกคน โรงเรียนที่หางจาก

              บานเด็ก 5 กิโลเมตรขึ้นไปตองจัดพาหนะรับสง ซึ่งเปนสภาพที่เกิดในชนบท เพราะในเมือง
              ไมมีโรงเรียนที่หางจากบานเกิน 5 กิโลเมตรเลย  สวนใหญเด็ก จะเดินหรือขี่จักรยาน


                     วัตถุประสงคของการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการสงเสริมใหนักเรียนมีจิตใจเมตตากรุณา

              เปนสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบและมีทักษะที่จําเปนในการดํารงชีวิต มีการสอน
              คุณธรรมจริยธรรมในวิชาศาสนาหรือวิชาปรัชญาชีวิตตั้งแตในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึง

              มัธยมปลาย  โดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง มีการอภิปรายในหองเรียนเรื่องความถูกผิด ดีชั่ว

              โดยนักเรียนเปนผูใหคําจัดความ ครูเพียงแตใหขอเท็จจริงเกี่ยวกับคําสอนทางศาสนา ปรัชญา

              หรือระบบกฎหมาย  ศาสนาที่สอนนอกจากคริสตไดแก พุทธ ฮินดู อิสลาม แตหากผูปกครอง
              ไมประสงคจะใหบุตรเรียนวิชาศาสนา โรงเรียนจะจัดการสอนเรื่องจริยธรรมแทน ซึ่งครูผูสอน

              มีความสําคัญมาก อาจเปนนักเทววิทยา นักการศาสนา หรือผูที่ไดรับการอบรมพิเศษเกี่ยวกับ

              จริยธรรม มีรูปแบบการเรียนการสอนทั้งการอภิปราย การแกปญหา การทํางานเปนทีม และ

              ปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน

                     การสอบวัดความรูเพื่อตรวจสอบวานักเรียนไดสั่งสมความรูและทักษะตามที่กําหนด

              ในหลักสูตรมัธยมปลายและมีระดับวุฒิภาวะเพียงพอหรือไมจัดพรอมกันทั่วประเทศ

              สวนระดับมหาวิทยาลัยมุงเนนใหผูเรียนมีความรูความสามารถตามเกณฑที่มหาวิทยาลัย
              กําหนด โดยผูเรียนประเมินตนเองวาพรอมจึงไปขอสอบ และแตละคนมีสิทธิสอบกี่ครั้งก็ได

              จนกวาจะผาน ถือเปนความรับผิดชอบและเปนการใหโอกาสผูเรียนไดศึกษาเรียนรูไดเต็ม

              ศักยภาพ






                44
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59