Page 53 - kpiebook65001
P. 53

สถาบันพระปกเกลา  :  การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย



                                                     เสนอ :  ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม


                  ใหนักเรียนเปนผูคิดวิเคราะหหาความถูกตองของหลักการและเหตุผล  และมีหลักสูตรแฝง

                  ที่มุงเนนใหนักเรียนเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมจากสถานการณและสิ่งแวดลอมจริง  มีการ
                  อภิปรายแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล ซึ่งครูผูสอนจะมีอิทธิพลโดยตรงตอผูเรียนอยาง

                  ลึกซึ้งและยาวนานมากกวาหลักสูตรตรงในโรงเรียนหรือในหองเรียน ทั้งนี้ วิธีการสอน

                  ทั้ง 2 วิธีดังกลาว มีแนวคิดและหลักการสอดคลองกับคําสอนของขงจื้อที่กลาววาทุกสรรพสิ่ง
                  ในโลกเปนครูที่จะสอนทุกชีวิตในโลกใหเปนไปตามความเปนจริงที่เกิดขึ้น  ดังนั้น การปลูกฝง

                  คุณธรรมทั้งในบานและในสังคมจึงเปนเบาหลอมที่ทําใหเยาวชนของประเทศเกาหลี

                  เปนเยาวชนที่ดีและมีแบบอยางเดียวกัน


                         การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมกระทําอยางตอเนื่องจนกลายเปนวัฒนธรรมที่เยาวชน
                  ยึดแบบอยางเปนแนวทางปฏิบัติ และคนเกาหลีเชื่อวาผูใหญและผูนําทางสังคมจะตองทําตัว

                  เปนตนแบบพฤติกรรมที่ดีงาม เพื่อใหเยาวชนไดเลียนแบบ  ดังเห็นไดวาหากผูบริหาร

                  ประเทศ ทํางานผิดพลาดทําใหเสียหายตอประเทศ จะลาออกหรือกระทําอัตวินิบาตกรรม

                         สวนหลักธรรมของศาสนาทุกศาสนามีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของคนเกาหลี แตยัง

                  นอยกวาหลักคําสอนของขงจื้อที่มุงสอนระเบียบในสังคม วิถีชีวิตในครอบครัวและสังคม

                  การปฏิบัติตนใหถูกตองตามครรลอง และการรูจักหนาที่ของตนเอง พรอมทั้งปฏิบัติตาม

                  คําสอนอยางเครงครัด

                         Marja-Leena Heikkila-Horn (2548) ศึกษาคุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝง

                  คุณธรรมและจริยธรรมของประเทศฟนแลนด  พบวาระบบการศึกษาเปนสิ่งสําคัญใน

                  กระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกเด็ก  โดยระบบการศึกษาของฟนแลนดเปน
                  มาตรฐานทั่วประเทศ  ประชาชนทุกระดับเขาถึงการศึกษาที่มีมาตรฐานเดียวกันได และมีการ

                  เชื่อมตอระหวางสถาบันการศึกษา ครอบครัว และศาสนจักร


                         มีการสอนคุณธรรมจริยธรรมแกเยาวชนตั้งแตวัยเยาว โดยพอแมผูปกครอง และใน
                  การศึกษากอนวัยเรียนผานศูนยรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียนอนุบาลหรือศูนยการศึกษากอนวัยเรียน

                  ในรูปแบบตางๆ โดยเนนการฝกอบรมเกี่ยวกับการดูแลเด็กในดานคุณธรรมจริยธรรม

                  ซึ่งรอยละ 90 ของประชากรวัย 6 ป เขาเรียนในศูนยรับเลี้ยงเด็ก ซึ่งศูนยรับเลี้ยงเด็กอยูใน

                  สังกัดกระทรวงกิจการสังคมและสาธารณสุข ทั้งนี้ มีการปฏิรูปการศึกษากอนวัยเรียน
                  ในป 2000 กําหนดใหองคกรทองถิ่นตองจัดใหมีที่เรียนสําหรับเด็กวัย 6 ปทุกคน

                  สวนพระราชบัญญัติการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดใหการจัดศึกษาปฐมวัยเปนหนาที่ขององคกร







                                                                                                      43
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58