Page 59 - kpiebook65001
P. 59

สถาบันพระปกเกลา  :  การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย



                                                     เสนอ :  ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม


                  ไมไดรับการสนับสนุนใหทําหนาที่ดานกลอมเกลาจิตใจปลูกฝงคุณธรรมความดีเหมือนที่เคย

                  เปนมา แตสถาบันอื่นกลายเปนสถาบันที่มีอิทธิพลตอการรับรูของประชาชนอยางสูง คือ
                  สถาบันการเมืองการปกครอง ธุรกิจเอกชน ชุมชนทองถิ่น โดยเฉพาะสื่อสารมวลชน ในขณะที่

                  ทั้ง 4 สถาบันนี้ยังขาดความตระหนักถึงหนาที่ในการเปนสวนหนึ่งของกระบวนการปลูกฝง

                  คุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย

                         ขอเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการที่จะนําไปสูการปฏิบัติดานคุณธรรมจริยธรรม

                  อยางเปนรูปธรรมบนพื้นฐานของทฤษฎีพัฒนาการมนุษย มีดังนี้


                         คุณธรรมดาน “ความพอเพียง” เปนคุณธรรมสําคัญและไดรับการยอมรับจาก
                  ทุกศาสนาในฐานะพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ และเปนคุณธรรม

                  ที่สามารถขยายผลไปยังคุณธรรมทั้ง 10 ประการไดอยางเปนรูปธรรม  ดังนั้นหากทุก

                  หนวยงานและทุกองคกรนอมนําแนวความคิดดานความพอเพียง ไปปฏิบัติในฐานะคุณธรรม

                  หลักของหนวยงานนั้นๆ ในทุกมิติสังคม ทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบัน
                  ศาสนา สถาบันการเมืองการปกครอง ชุมชนทองถิ่น ธุรกิจเอกชน สื่อและสื่อสารมวลชน ก็จะ

                  เปนการปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน เกิดการประสานการทํางานบนแกนเดียวกันจากทุกมิติ

                  สังคม พลังจากการปฏิบัติก็จะเกิดผลไปในทิศทางเดียวกัน กอเกิดผลสัมฤทธิ์ไดอยางมีทิศทาง

                  ที่เหมาะสมและทําไดจริง

                         ทั้งนี้ ควรใหความสําคัญกับชวงปฐมวัย และดําเนินโครงการบนพื้นฐานของการรับรู

                  และการเรียนรูของมนุษย โดยกลุมเปาหมายสําคัญคือ กลุมประชากรปฐมวัย (อายุ 0-6

                  ขวบ) และองคกรที่ดําเนินงานดานปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมกับกลุมประชากรนี้  และควร
                  ดําเนินไปในทุกภาคสวนของสังคมอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ สอดคลองและประสานกันทั้ง

                  7 สถาบัน โดยมีการกําหนดกิจกรรมใหสอดคลองตามศักยภาพและระดับการเรียนรู

                  ของประชากรแตละกลุมเปาหมาย  โดยมีเปาหมายเดียวกันนั่นคือยึดคุณธรรมดาน

                  “ความพอเพียง” เปนแกนหลักในการออกแบบกิจกรรมปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม

                         เพื่อใหการดําเนินงานของทั้ง 7 สถาบันเปนไปในทิศทางเดียวกัน ควรจัดตั้ง

                  “หนวยงานที่เปนแกนกลาง”  ในการประสานความรวมมือจากทุกมิติสังคมในการเขามา

                  มีบทบาทและเขารวมปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมในทุกระดับ โดยสถาบันแกนกลางดังกลาว

                  ควรมีกลุมนักวิชาการ  เชนนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักพัฒนาการเด็ก นักกิจกรรม
                  นักสังคมศาสตร นักปฏิบัติการดานสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ ผูปฏิบัติการจากกลุมศาสนา

                  ตางๆ เพื่อรวมสรางองคความรูจากหลักความพอเพียงสูการปฏิบัติ  และออกแบบกิจกรรม




                                                                                                      49
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64