Page 64 - kpiebook65001
P. 64

สถาบันพระปกเกลา  :  การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย


                             เสนอ :  ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม


                     ศูนยคุณธรรมควรเปนหลักในการจัดเวทีอภิปรายระหวางผูเกี่ยวของและภาคสวน

              ตางๆ เพื่อใหไดนโยบายและมาตรการนําไปสูการปฏิบัติที่ไดผลและเปนที่ยอมรับอยาง

              กวางขวาง


                     กลาวโดยสรุปไดวา ประเทศที่ทําการศึกษารวม 10 ประเทศนั้น แมมีความแตกตางกัน
              ในแงประวัติศาสตรและสภาพภูมิศาสตร สถานที่ตั้ง ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี และระดับ

              ของการพัฒนาประเทศ  แตมีความเหมือนกันในเรื่องกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม

              หรือการหลอหลอมคุณลักษณะของประชากรในแตละประเทศ ดังนี้

                     คุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมเกิดขึ้นไดจากกระบวนการกลอมเกลาทางสังคม

              (Socialization ) เปนหลัก  ซึ่งตองดําเนินการอยางตอเนื่อง และใชเวลา โดยที่ตองเชื่อมโยง

              หลักคําสอนเขากับวิถีชีวิตจริงในทุกมิติ ทั้งในเชิงปจเจกบุคคล หรือกลุม องคกรและสถาบัน

              ทุกระดับชั้นในสังคม  รวมทั้งทุกเพศ ทุกวัย ทุกสถานะ ตองเขามามีสวนรวม


                     สถาบันหลักที่มีบทบาทสําคัญในกระบวนการกลอมเกลาทางสังคม ไดแก สถาบัน
              ครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา โดยมีภาครัฐ เปนแกนหลักในการบูรณาการหรือ

              สงเสริมบทบาทของสถาบันอื่นๆ รวมทั้งสื่อมวลชน ชุมชน และองคกรทางสังคมหรือองคกรที่
              ไมเปนทางการอื่นๆ


                     คุณลักษณะดานความซื่อตรงและซื่อสัตยเปนคุณลักษณะที่โดดเดนของคนศรีลังกา

              ไตหวัน ฟนแลนด  เยอรมัน สวิสเซอรแลนด และนิวซีแลนด


              2.3  แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาการทางจริยธรรม

                     นักวิชาการตางประเทศที่มีแนวความคิดทฤษฎีการพัฒนาการทางจริยธรรมคือ

              นักจิตวิทยาชาวสวิส ชื่อ เพียเจต (Jean Piaget, 1956 อางถึงใน ขัตติยา กรรณสูต, 2547)

              กลาววา ขั้นตอนของการพัฒนาทางดานจริยธรรมมีความคลายคลึงกับขั้นตอนการพัฒนา

              ทางดานสติปญญาของเด็ก โดยเชื่อวาพัฒนาการทางจริยธรรมของเด็กมีความสัมพันธ มีความ
              สอดคลองกับการพัฒนาทางดานสติปญญา ซึ่งการพัฒนานั้นเกี่ยวของกับการที่เด็กมี

              ปฏิสัมพันธกับผูอื่นและสิ่งแวดลอม การที่เด็กไดคบเพื่อนหรือเลนกับเพื่อน (peer

              interaction) ก็มีความสําคัญมากตอการพัฒนาจริยธรรม โดยแบงพัฒนาการทางจริยธรรมของ

              เด็ก ออกเปน 4 ขั้นดังนี้ คือ

                            1)   ขั้นกอนจริยธรรม (Pre-moral stage) ในชวงสี่ปแรกของชีวิต เด็กยังไมมี

              ความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎระเบียบของสังคม และไมรูวาระเบียบหรือกฎตางๆ มีไวเพื่อ



                54
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69