Page 65 - kpiebook65001
P. 65

สถาบันพระปกเกลา  :  การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย




                                                     เสนอ :  ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม

                  อะไร หรือรูก็นอยมาก เด็กวัยนี้จะเลนโดยไมคํานึงถึงกฎกติกาใดๆ แตอยางไรก็ตาม เชื่อวา

                  แนวคิดที่วาอะไรผิดอะไรถูก ไดรับการเริ่มฝงรากมาบางตั้งแตวัยทารก

                                2)  ขั้นรูความหมายของจริยธรรม (Moral  realism)  เปนการพัฒนาทาง

                  จริยธรรมของเด็กในชวงอายุหาถึงเจ็ดป ขั้นตอนนี้หรืออาจเรียกวาขั้นยอมรับกฎเกณฑ

                  ระเบียบ (Stage of heteronomous morality) การที่เด็กจะตัดสินใจวาอะไรผิดมากหรือนอย
                  จะถือเอาขนาดของความเสียหายที่เด็กไดทําไป คือทําของเสียหายมากก็ผิดมาก ทําของ

                  เสียหายนอยก็ผิดนอย สวนในเรื่องของเจตนาจะทําผิดหรือไมไดเจตนานั้นเด็กไมคํานึงถึงใน

                  วัยนี้

                                3)  ขั้นระยะชวงตอระหวางขั้นที่ 2  และขั้นที่ 4 (Transitional  stage) เปน

                  การพัฒนาทางจริยธรรมของเด็กในชวงอายุเจ็ดถึงเกาปโดยประมาณ เด็กในวัยนี้จะมีการเลน

                  กับเพื่อน คบเพื่อน และผูกความสัมพันธกับเพื่อนมากขึ้น ใกลชิดกับเพื่อนมากขึ้น เด็กเริ่มมี

                  การใหและรับระหวางกันและกัน เด็กในวัยนี้จะรูวาการทําผิดจะตองไดรับการลงโทษเปนการ

                  ตอบแทน และ

                                4)  ขั้นพิจารณาจริยธรรมจากความเกี่ยวโยง (Stage of moral relativism)

                  เปนขั้นพัฒนาทางจริยธรรมของเด็กอายุประมาณ 10  ถึง 11  ป เปนระยะที่เด็กเริ่มพัฒนา
                  จริยธรรมขึ้นสูระดับมีความคิดวาอะไรผิดอะไรถูกโดยใชเหตุผล โดยคํานึงถึงความยุติธรรมใน

                  ความคิดอานของเขา เด็กมีเพื่อนมากขึ้นและสังคมกับเพื่อนมากขึ้น เด็กเริ่มมีกฎเกณฑ มี

                  ความคิดของตัวเอง หรือยึดหลักแหงตน (Autonomous moral thinking) เด็กจะพิจารณาจาก

                  ผลที่เกิดจากการกระทําของตนดวย เด็กโตจะตัดสินใจผิดถูกจากสถานการณและความเกี่ยว

                  โยงของสถานการณ หรือความเกี่ยวโยงของเหตุการณนั้นกับบุคคล เด็กวัยนี้ยังเชื่อวา
                  กฎระเบียบตางๆ อาจเปลี่ยนแปลงไดบาง ตามแตสถานการณ และการยอมรับหรือการตกลง

                  กันในกลุมกับเพื่อนๆ เชนในการเลมเกมสเปนตน ในเรื่องเกี่ยวกับ กฎระเบียบเด็กถือวาเปน

                  ผลผลิตของการปฏิสัมพันธกับเพื่อนในสังคมจึงอาจเปลี่ยนแปลงได

                                นอกจากเพียเจต (Jean  Piaget) แลวยังมีนักวิชาการที่ศึกษาถึงทฤษฎีการ

                  พัฒนาการทางจริยธรรม ไดแกนักจิตวิทยาชาวอเมริกันชื่อลอเรนซ โคลเบิรก (Lawrence

                  Kohlberg, 1987  อางถึงใน ขัตติยา กรรณสูต, 2547)  ที่ไดศึกษาเหตุผลของคําตอบและ

                  จัดลําดับการพัฒนาจริยธรรมออกเปนขั้นตางๆ รวม 3 ระดับ แตละระดับแบงเปน 2 ขั้นตอน
                  รวมมีระดับการพัฒนาจริยธรรมทั้งหมด 6  ขั้นตอน โดยเรียงลําดับตั้งแตเด็กไปจนถึงระดับ

                  ผูใหญ ดังนี้




                                                                                                      55
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70