Page 70 - kpiebook65001
P. 70

สถาบันพระปกเกลา  :  การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย


                             เสนอ :  ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม



                        3)  การขัดเกลาทางสังคมเปนการเตรียมบุคคลเขารับบทบาทตาง ๆ ในสังคม
              (Role training)


                            แนวคิดนี้มองวา กระบวนการขัดเกลาทางสังคมเปนกระบวนการของสังคม ใน

              อันที่จะทําใหปจเจกบุคคลตองปฏิบัติตามปทัสถาน (Norms) ของสังคม

                            ที่มาของแนวคิดนี้เกิดจากการมองวา  การที่สังคมจะดํารงโครงสรางของมันอยู

              ไดก็ดวยการสรร หาบุคคลตางๆ มาสวมบทบาทตางๆ ในสังคมได  บุคลิกภาพ (Personality)

              ของบุคคลและโครงสรางทางสังคม (Social  Structure)  จึงเปนระบบที่แยกตางหากออกจาก

              กัน  และความสัมพันธระหวางบุคลิกภาพสวนบุคคลกับโครงสรางทางสังคมจึงอาจมีหลาย
              แนวทาง        โดยกระบวนการขัดเกลาทางสังคมจะทําหนาที่เปนตัวเชื่อมรอยใหสองระบบ

              ไปดวยกันได

                           ดังนั้น      การขัดเกลาทางสังคมจึงมีความสําคัญอยางยิ่งในการหลอหลอม

              พฤติกรรมของบุคคล  และเปนตัวแปรสําคัญที่สงผลตอการดํารงอยู ความขัดแยง และการ

              เปลี่ยนแปลงของสังคม


                           สวนพื้นฐานทางชีวภาพที่ทําใหเกิดการขัดเกลาทางสังคม ไดแก
                               1)  การปราศจากสัญชาตญาณของมนุษย

                               2)  การตองพึ่งพาผูอื่นยามเยาววัย

                               3)  ความสามารถในการเรียนรู
                               4)  ภาษา


                           โดยความมุงหมายของการขัดเกลาทางสังคม ไดแก


                               1)  ปลูกฝงระเบียบวินัย

                               2)  ปลูกฝงความมุงหวัง และแรงบันดาลใจ

                               3)  สอนใหรูจักบทบาทและทัศนคติตางๆ

                               4)  สอนใหเกิดความชํานาญหรือทักษะ


                           การขัดเกลาทางสังคมชวยสรางตัวตนขึ้นมา 3 อยาง คือ


                               1)  ภาพเกี่ยวกับตัวตน (Self-image)  โดยอาศัยการปะทะสัมพันธ
              กับคนอื่น  และโดยอาศัยภาษา ทําใหบุคคลเกิดความคิดเกี่ยวกับตนเองวาเปน “ฉัน” (I)

              “พฤติกรรมของคนที่มีตอบุคคลนั้นเปนเหมือนกระจกเงาที่ชวยใหมองเห็นตัวเองวาเปนใคร




                60
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75