Page 69 - kpiebook65001
P. 69

สถาบันพระปกเกลา  :  การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย




                                                     เสนอ :  ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม

                                    1.1)   เด็กรับเอาวัฒนธรรมอยางตรงไปตรงมา  ไมมีปฏิกิริยาตอบโตหรือ

                  กลั่นกรองวัฒนธรรมแตอยางใด (Passive Recipient)

                                     1.2) วัฒนธรรมมีความมั่นคงถาวร (Stable  Culture)  คงเสนคงวา

                  (consistent content) ไมขัดแยงกัน

                                     1.3)  กระบวนการขัดเกลาทางสังคมมีความสัมพันธกับกระบวนการ

                  ปฏิสัมพันธทางสังคมอื่นๆ อยางเปนเหตุเปนผลกัน แยกออกจากกันไดยาก และเกื้อหนุนการ

                  คงอยูของวัฒนธรรมอยางเปนระบบ

                                    แนวคิดนี้มุงแสดงใหเห็นถึงพลังในเชิงอนุรักษของสังคม โดยพัฒนามา


                  จากวิชามานุษยา (Anthropology)  ที่ศึกษาสังคมขนาดเล็ก มีเสถียรภาพสูง  ไมเปลี่ยนแปลง

                  หรือเปลี่ยนแปลงแตนอย         จึงทําใหมองเห็นภาพของการขัดเกลาทางสังคมในรูปของ

                  กระบวนการ ซึ่งทําใหสังคมดํารงอยูตามแบบฉบับเดิม

                            2)การขัดเกลาทางสังคม เปนกระบวนการควบคุมแรงดลสวนบุคคล

                  (Impulse control)


                                แนวคิดนี้มองวา กระบวนการขัดเกลาทางสังคม             เปนกระบวนการจํากัด
                  ขอบเขตแรงกระตุนทางธรรมชาติของบุคคลที่ติดตัวมาแตกําเนิด  ซึ่งหากปลอยใหมีผลตอ

                  พฤติกรรมโดยลําพังแลว อาจทําใหเกิดความระส่ําระสายในสังคมได  กระบวนการทางสังคม

                  จึงทําหนาที่หลอหลอมใหบุคคลผันแปรพฤติกรรม  ที่เกิดจากแรงกระตุนธรรมชาตินั้น ไป

                  ในทางที่สังคมยอมรับได


                                แนวคิดนี้มีที่มาจากทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psycho-Analysis)  ซึ่งมองวามนุษยมี

                  ความตองการทางธรรมชาติตาง ๆ  ซึ่งมีมาแตกําเนิดกอนที่จะมาเปนสมาชิกของสังคม เชน

                  ความกาวราว หรือตัณหาของบุคคล ซึ่งบุคลิกภาพนี้ฟรอยด (Freud: นักทฤษฎีจิตวิเคราะห)

                  เรียกวา “อภิอัตตา” (Super Ego)


                                แนวคิดนี้เชื่อวาการควบคุมดวยการขัดเกลาทางสังคมไมใชวาจะกระทําไดผล

                  แกทุกคนเสมอไป  แตโดยเฉลี่ยแลวสังคมประสบความสําเร็จในการปองกันมิใหคนสวนใหญ

                  ในสังคมแสดงออกซึ่งพฤติกรรม อันเกิดจากแรงกระตุนทางธรรมชาติสวนบุคคล ซึ่งกอใหเกิด
                  ความระส่ําระสายในสังคม







                                                                                                      59
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74