Page 73 - kpiebook65001
P. 73

สถาบันพระปกเกลา  :  การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย



                                                     เสนอ :  ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม


                               5)  ความซื่อตรงตอหนาที่  หมายถึง  ตั้งใจกระทํากิจการซึ่งไดรับมอบใหเปน

                  หนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต

                               6)  ความซื่อตรงตอคนทั่วไป  หมายถึง  ใหประพฤติซื่อตรงตอคนทั่วไป รักษา

                  ตนใหเปนคนที่เขาจะเชื่อถือได

                               7)  ความรูจักนิสัยคน  เปนขอที่มีความสําคัญสําหรับผูมีหนาที่ติดตอกับผูอื่น

                  ไมวาจะเปนผูใหญหรือผูนอย


                               8)  ความรูจักผอนผัน   หมายถึง  ตองเปนผูที่รูจักผอนสั้น  ผอนยาว เมื่อใด
                  ควรตัดขาดและเมื่อใดควรโอนออนหรือผอนผันได  มิใชแตจะยึดถือหลักเกณฑหรือระเบียบ

                  อยางเดียวซึ่งจะกอใหเกิดผลเสียควรจะยืดหยุนได


                               9)  ความมีหลักฐาน  ประกอบดวย หลักสําคัญ 3 ประการ คือ มีบานอยูเปนที่
                  เปนทางมีครอบครัวอันมั่นคง และตั้งตนไวในที่ชอบ


                               10)  ความจงรักภักดี  หมายถึง  ยอมเสียสละเพื่อประโยชนแหงชาติ ศาสนา

                  และพระมหากษัตริย

                         โดยสามารถจําแนกเปนคุณธรรมหลัก 3 ประการ คือคุณธรรมตอตนเอง ไดแก

                  ขอ      1-3 คุณธรรมตอหนาที่ ไดแก ขอ4-9 และคุณธรรมตอพระมหากษัตริย ขอ 10

                  กมล ทองธรรมชาติ และพรศักดิ์ ผองแผว (2547) อางถึงใน สํานักงาน ก.พ. (2551)


                  2.6  ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสเพื่อปลูกฝงความซื่อตรง ซื่อสัตย

                  คุณธรรม จริยธรรม แกพสกนิกรของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
                  (รัชกาลที่ 9)


                     พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ  ทรงเปนนักปรัชญาที่ทรงปฏิบัติองค

                  เปนแบบอยางใหแกพสกนิกรไดเปนอยางดี  พระราชจริยวัตรตางๆ  ของพระองคไดแสดงให

                  เห็นถึงความเปนเลิศในทุกๆ สาขาวิชา ทรงแสดงใหเห็นถึงหลักปรัชญาที่สมบูรณยิ่ง และไมวา

                  พระองคจะทรงงานใดทั้งภาคทฤษฎีหรือภาคปฏิบัติ พระองคจะทรงแทรกปรัชญาไวเสมอ จะ

                  เห็นไดชัดเจนในพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสที่พระราชทานแกประชาชน  และคณะ

                  บุคคลในวาระตางๆ กัน  ซึ่งลวนเปนการทรงงานที่เกิดจากพระปรีชาสามารถอยางลึกซึ้ง

                  รอบคอบดวยพระองคเอง ดังนั้นพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสตางๆ จึงเปนสิ่งที่มีคาสูง

                  ควรแกการศึกษาวิเคราะหอยางละเอียด  และสามารถนํามายึดเปนหลักในการปฏิบัติได  การ




                                                                                                      63
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78