Page 215 - kpiebook64011
P. 215

หลายรูปแบบได้ และยังมีความเป็นไปได้ที่การเมืองแบบอุปถัมภ์จะสิ้นสุดลง (เช่นระบบเจ้าพ่อ) ด้วยเงื่อนไข
               ของการกระจายอ านาจและการจรรโลงประชาธิปไตย นับตั้งแต่ปี 2540


                       ขณะที่งานในส่วนของเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยโครงสร้างอ านาจท้องถิ่น แม้จะมีส่วนที่อธิบาย
               ระบบอุปถัมภ์ในท้องถิ่น แต่ให้ความส าคัญกับระบบแกนกลางของการจัดความสัมพันธ์ในลักษณะของ

               ครอบครัว (“บ้าน”) และการเชื่อมโยงมิติของระบบอุปถัมภ์กับการสะสมความมั่งคั่งในท้องถิ่น อย่างไรก็ดี
               แนวทางการศึกษาในแนวเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยโครงสร้างอ านาจท้องถิ่นมีความเชื่อว่าการกระจาย
               อ านาจและการจรรโลงประชาธิปไตยไม่ได้ท าให้ระบบอุปถัมภ์หมดไป


                       การน าเอาแนวคิดเรื่องจักรกลทางการเมืองซึ่งเคยมีการน าเข้าและพยายามน ามาประยุกต์ใช้ในการ
               อธิบายเรื่องเจ้าพ่อในยุคสมัยหนึ่ง แต่ต่อมาถูกน ามาอ้างอิงอย่างหลวม ๆ ในแง่ของการระดมคะแนนเสียง ถูก
               น ามาพัฒนาขึ้นอีกครั้งในงานวิจัยฉบับนี้พร้อมกับอ้างอิงกับประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศที่มีลักษณะ

               ที่การพัฒนาทางประชาธิปไตยมีลักษณะลูกผสม หรือยังมีลักษณะเผด็จการอยู่ด้วย ชี้ให้เห็นว่าแนวคิดจักรกล
               การเมืองที่เชื่อว่าหมดบทบาทลงในการเมืองระดับเมืองในสหรัฐอเมริกา และไม่ได้ถูกน ามาอธิบายในการเมือง
               ท้องถิ่นไทยในช่วงหลังนั้นยังมีความส าคัญอยู่มาก และมีลักษณะที่เป็น “จักรกลเศรษฐกิจการเมืองอย่างหลวม
               ๆ” (Loosely-Structured Political Economic Machine in Local Electoral Politics) ในความหมาย

               ที่ว่า โครงสร้างของระบบอุปถัมภ์นั้นไม่ใช่แค่เรื่องของ “ความสัมพันธ์แลกเปลี่ยน” ในระบบการเมืองและการ
               เลือกตั้งที่สามารถท าความเข้าใจศูนย์กลางของระบบอุปถัมภ์ในท้องถิ่น คือตัวตระกูล หรือผู้น า รวมทั้งคน
               ใกล้ชิดในด้านหนึ่ง และประชาชน/ผู้เลือกตั้ง


                       อีกด้านหนึ่ง การท าความเข้าใจระบบจักรกลเศรษฐกิจการเมืองในท้องถิ่นที่รวมตัวกันอย่างหลวม ๆ
               เป็นเรื่องของการท าความเข้าใจมิติ “องค์การ” (organizational dimension) ของระบบอุปถัมภ์และการ
               เลือกตั้งท้องถิ่น โดยไม่มองง่าย ๆ แค่ว่า มีผู้น า/ผู้มีอิทธิพล/เจ้าพ่อ และเครือข่ายหัวคะแนน และประชาชน

               เป็นล าดับชั้น แต่ต้องมองเครือข่ายอ านาจทั้งหมดเป็นเสมือนองค์กรที่รวมตัวกันหลวม ๆ และมีลักษณะเป็น
               หุ้นส่วนการสะสมอ านาจทางการเมืองและเศรษฐกิจร่วมกัน โดยนอกจากจะมีการระดมการสนับสนุนทาง
               การเมืองและคะแนนเสียงให้จักรกลนี้คงอยู่ ขณะเดียวกันก็ถ่ายเทความมั่งคั่งไปมาซึ่งกันและกัน สิ่งนี้เกิดขึ้นได้

               เพราะโครงสร้างระบบการปกครองท้องถิ่นไทยในพื้นที่นอกเมืองหลวงนั้นมีต าแหน่งทางการเมืองและ
               ทรัพยากรทางอ านาจในทางเศรษฐกิจ ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากนับจากการกระจายอ านาจเมื่อปี 2540 เป็นต้นมา
               ส่งผลให้มีต าแหน่งทางการเมืองที่สมาชิกของจักรกลทางเศรษฐกิจการเมืองในพื้นที่จะเข้าไปจับจอง หรือเอื้อ
               ประโยชน์กันทั้งในต าแหน่งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ตั้งแต่ผู้ใหญ่บ้าน ก านัน สมาชิกสภาองค์การ

               บริหารส่วนต าบล นายกองค์การบริหารส่วนต าบล สมาชิกสภาเทศบาล นายกเทศมนตรี สมาชิกสภาองค์การ
               บริหารส่วนจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด มิพักต้องกล่าวถึงผู้น าทางศาสนา นักธุรกิจ หรือผู้มี
               ชื่อเสียงทางสังคมในพื้นที่ที่เข้ามาเป็นพันธมิตรในอ านาจ หรือผันตัวเองเข้ามาอยู่ในต าแหน่งที่เป็นทางการ
               และเชื่อมโยงกันด้วยการเกื้อหนุนในด้านงบประมาณเนื่องจากพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและพื้นที่

               อื่น ๆ นั้นทับซ้อนกัน และท าให้มีเรื่องอื้อฉาวในการทุจริตในโครงการต่าง ๆ ขององค์กรปกครองท้องถิ่น รวม
               ไปถึงสถาบันอื่นเช่นวัด ในเรื่องของ “เงินทอน” ที่เคลื่อนย้ายไปมา เพื่อสร้างความมั่งคั่งและหล่อเลี้ยงจักรกล
               ทางเศรษฐกิจการเมืองในพื้นที่เอาไว้ ดังนั้นค าอธิบายที่ว่า การที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีงบประมาณและ
               มีอ านาจหน้าที่มากขึ้นในการให้บริการสาธารณะกับประชาชนในระดับท้องถิ่นอันเป็นผลจากการกระจาย

               อ านาจนั้นอาจมีความเป็นไปได้ในการท าให้ระบบอุปถัมภ์นั้นหมดไปจากการเมืองท้องถิ่นและการเมืองในมิติ




                          โครงการศึกษาการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ปี 2563: การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ   197
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220