Page 25 - kpiebook63023
P. 25

25












                                                 ต้องยอมรับว่าบ่อยครั้ง

                                การกระจายอ�านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น

                             หากมิได้มีการศึกษาและวางแผนที่ดีพอ เช่น การพิจารณาถึง
                                     แหล่งรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                       ความหนาแน่นของประชากร ระดับความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น

                                          ซึ่งการขาดการศึกษาและวางแผนที่ดี

                                      อาจส่งผลท�าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                   ขาดแคลนทรัพยากรในการจัดท�าบริการสาธารณะ
                                       โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของงบประมาณ

                                          และบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ











                  เห็นได้ว่า ในการเมืองท้องถิ่นของบางจังหวัดหรือบางพื้นที่ในประเทศไทยอาจมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับ
                  การผูกขาดทางการเมืองที่กล่าวถึงนี้ เช่น ในเวทีการเมืองท้องถิ่นของบางจังหวัดอาจมีผู้สมัครรับเลือกตั้ง

                  เพียงกลุ่มเดียวอย่างต่อเนื่องยาวนาน โดยไม่มีผู้สมัครรายอื่นเลยที่กล้าลงสมัครแข่งขันเลย หรือในบางพื้นที่
                  ก็อาจมีผู้บริหารบางคนสามารถผูกขาดการเป็นผู้บริหารท้องถิ่นได้อย่างต่อเนื่องหลายวาระ ทั้งๆ ที่อาจไม่ได้มี

                  ผลงานอะไรให้ประจักษ์ชัด ซึ่งปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอาจเป็นไปได้ว่านักการเมืองที่สามารถผูกขาดทางการเมือง
                  นั้นๆ ใช้อิทธิพลหรือกลวิธีทางการเมืองบางประการช่วยให้เขาสามารถผูกขาดการเมืองในพื้นที่ได้สำาเร็จ


                          สำาหรับในมิติทางด้านการบริหาร ข้อจำากัดของการกระจายอำานาจอาจแยกพิจารณาได้ในหลาย

                  ประเด็น กล่าวคือ ในประการแรก การกระจายอำานาจที่กว้างขวางให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาจนำามาซึ่ง
                  ความไร้ประสิทธิภาพในการจัดบริการสาธารณะและการที่คุณภาพของการจัดบริการสาธารณะไม่ได้มาตรฐานที่

                  เหมะสมอย่างที่ควรจะเป็น ทั้งนี้ต้องยอมรับว่าบ่อยครั้งการกระจายอำานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น
                  หากมิได้มีการศึกษาและวางแผนที่ดีพอ เช่น การพิจารณาถึงแหล่งรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                  ความหนาแน่นของประชากร ระดับความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น ซึ่งการขาดการศึกษาและวางแผนที่ดี
                  อาจส่งผลทำาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขาดแคลนทรัพยากรในการจัดทำาบริการสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

                  ในเรื่องของงบประมาณ และบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ บ่อยครั้งที่ความขาดแคลนทรัพยากร
                  ดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดเล็กและห่างไกลจากศูนย์กลางของความเจริญ

                  เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดขาดทรัพยากรที่เพียงพอแล้ว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ ก็อาจไม่สามารถ
                  ที่จะจัดทำาบริการสาธารณะที่มีคุณภาพเหมาะสมให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งปัญหาเช่นนี้อาจทำาให้มองได้ว่า
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30