Page 136 - kpiebook63019
P. 136

131






                     4.2.5  ผลการดำเนินงานของรัฐสภา ด้านความสำนึกรับผิดชอบ


                           4.2.5.1  ผลการประเมินรัฐสภา ด้านสำนึกรับผิดชอบของรัฐสภาในภาพรวม

                     
 
 
 
     
   ผลการประเมินรัฐสภา ด้านความสำนึกรับผิดชอบในภาพรวมพบว่า

               มีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.65, S.D. = 0.84) โดยเมื่อพิจารณาตาม
               องค์ประกอบย่อย พบว่าด้านความสำนึกความรับผิดชอบของสมาชิกรัฐสภาต่อประชาชนทั่วประเทศ
               มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.01, S.D. = 1.09) รองลงมา คือ

               ด้านการพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างขีดความสามารถของสมาชิกรัฐสภา มีการดำเนินงานอยู่ในระดับ
               ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.76, S.D. = 1.05) ด้านการสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาของประชาชนที่มีต่อรัฐสภา

               มีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.52, S.D. = 0.93) และ ด้านระบบการรายงาน
               ตรวจสอบ และลงโทษสมาชิกรัฐสภา กรณีมีพฤติกรรมผิดจริยธรรมหรือเข้าข่ายผลประโยชน์ทับซ้อน
               มีคะแนนเฉลี่ยต่ำที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.48, S.D. = 1.07) สรุปได้

               ดังภาพ 4-10

                                การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
               ภาพ 4-10 ค่าเฉลี่ยของผลการประเมินรัฐสภา ด้านความสำนึกรับผิดชอบ ในรายองค์ประกอบย่อย


                                                             A1
                                                          5

                                                          4  3.01
                                                          3

                                                          2

                                                          1
                                       A4    2.76         0               2.48     A2







                                                            2.52


                                                              A3

                                                    ค่าเฉลี ยผลการด่าเนินงาน

                    ภาพ 4-10  ค่าเฉลี่ยของผลการประเมินรัฐสภา ด้านความส านึกรับผิดชอบ ในรายองค์ประกอบย่อย
               โดยที่ A1  คือ  ความสำนึกความรับผิดชอบของสมาชิกรัฐสภาต่อประชาชนทั่วประเทศ
                    A2 คือ ระบบการรายงาน ตรวจสอบและลงโทษสมาชิกรัฐสภา กรณีมีพฤติกรรมผิดจริยธรรม หรือเข้าข่ายผลประโยชน์ทับซ้อน
                    A3 คือ การสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาของประชาชนที่มีต่อรัฐสภา
         โดยที่      A1  คือ  ความส านึกความรับผิดชอบของสมาชิกรัฐสภาต่อประชาชนทั่วประเทศ
                    A4 คือ การพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างขีดความสามารถของสมาชิกรัฐสภา
                  A2 คือ ระบบการรายงาน ตรวจสอบและลงโทษสมาชิกรัฐสภา กรณีมีพฤติกรรมผิดจริยธรรม หรือเข้าข่ายผลประโยชน์ทับซ้อน
                 A3 คือ การสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาของประชาชนที่มีต่อรัฐสภา

                 A4 คือ การพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างขีดความสามารถของสมาชิกรัฐสภา

                          4.2.5.2 ผลการประเมินสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ด้านส านึกรับผิดชอบของรัฐสภา จ าแนก
            การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
         ตามกลุ่มผู้ให้ข้อมูล


                 หากพิจารณาผลการประเมินตามกลุ่มผู้ให้ข้อมูล พบว่า ผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติ
         แห่งชาติ ด้านความส านึกรับผิดชอบ ในกลุ่มเวทีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อุดรธานี) มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด


         โดยมีการด าเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.84, S.D. = 0.73) ในขณะที่ กลุ่มเวทีภาคใต้
         (นครศรีธรรมราช) มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด โดยมีการด าเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.35, S.D. =


         0.89) และ เมื่อวิเคราะห์ตามองค์ประกอบย่อย พบว่า ค่าเฉลี่ยของกลุ่มเวทีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
         (อุดรธานี) สูงกว่าค่าเฉลี่ยในภาพรวมของทุกองค์ประกอบ และ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มเวทีภาคใต้ (นครศรีธรรมราช)


         ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยในภาพรวมของทุกองค์ประกอบเช่นกัน


                 นอกจากนี้ มีข้อสังเกตว่า ค่าเฉลี่ยด้านความส านึกความรับผิดชอบของสมาชิกรัฐสภาต่อประชาชน

         ทั่วประเทศ ของกลุ่มเวทีภาคเหนือ (เชียงราย) และ กลุ่มเวทีภาคใต้ (นครศรีธรรมราช) ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยด้านนี้

         ในภาพรวม ค่าเฉลี่ยด้านระบบการรายงาน  ตรวจสอบ และลงโทษสมาชิกรัฐสภา กรณีมีพฤติกรรมผิด

         จริยธรรมหรือเข้าข่ายผลประโยชน์ทับซ้อน ของกลุ่มเวทีภาคเหนือ (เชียงราย), กลุ่มเวทีภาคกลาง

         (กรุงเทพมหานคร) และ กลุ่มเวทีภาคใต้ (นครศรีธรรมราช) ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยด้านนี้ในภาพรวม ค่าเฉลี่ยด้านการ

         สร้างความเชื่อมั่นศรัทธาของประชาชนที่มีต่อรัฐสภา ของกลุ่มเวทีภาคกลาง (กรุงเทพมหานคร) และ



                                                          4-38
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141