Page 130 - kpiebook63019
P. 130
125
ด้านความโปร่งใสและปลอดจากอิทธิพลของนักธุรกิจและกลุ่มผลประโยชน์ของธุรกิจ ของกลุ่มอายุน้อยกว่า
51 ปี ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยทั้งสองด้านนี้ในภาพรวม และ ค่าเฉลี่ยด้านการดึงดูดเยาวชนให้สนใจงานของรัฐสภา
ของกลุ่มอายุต่ำกว่า 51 ปี และกลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยทั้งสองด้านนี้ในภาพรวม สรุปผลได้
ดังตาราง 4-18
ตาราง 4-18 ค่าเฉลี่ยของผลการประเมินรัฐสภา ด้านความโปร่งใสและการเข้าถึงได้ จำแนกผู้ประเมินตาม
กลุ่มอายุ
น้อยกว่า 51 ปี 51-60 ปี มากกว่า 60 ปี
องค์ประกอบย่อย
ค่าเฉลี่ย S.D. จำนวนผู้ตอบ ค่าเฉลี่ย S.D. จำนวนผู้ตอบ ค่าเฉลี่ย S.D. จำนวนผู้ตอบ
T1 3.18 0.90 28 3.25 1.00 36 3.05 1.20 37
T2 3.11 1.29 28 3.08 1.00 36 3.06 1.26 35
T3 2.89 1.05 25 3.03 0.75 30 2.66 1.03 32
T4 2.94 1.11 25 2.81 0.90 34 2.56 1.02 32
T5 2.02 1.14 22 2.23 0.98 34 2.20 1.43 33
T6 2.12 1.01 23 2.16 1.06 33 1.79 1.29 34
T7 2.30 1.22 20 2.48 1.28 33 2.50 1.43 30
T8 2.04 1.22 27 2.21 1.05 33 2.11 1.43 35
T 2.52 0.93 28 2.62 0.82 37 2.40 1.04 38
4.2.4.5 ผลการประเมินรัฐสภา ด้านความโปร่งใสและการเข้าถึงได้ของรัฐสภา จำแนกตาม
ระดับการศึกษา
หากพิจารณาผลการประเมินตามกลุ่มการศึกษา พบว่า ผลการดำเนินงานของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ด้านความโปร่งใสและการเข้าถึงได้ ในกลุ่มระดับการศึกษาปริญญาตรี มีค่าเฉลี่ย
สูงที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.56, S.D. = 0.80) ในขณะที่ กลุ่มระดับ
การศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.15,
S.D. = 0.85)
นอกจากนี้ มีข้อสังเกตว่า ค่าเฉลี่ยด้านการมีเสรีภาพของสื่อในการเข้าถึงและ
นำเสนอข่าวเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐสภาและสมาชิกรัฐสภา, ค่าเฉลี่ยด้านการมีช่องทาง ความถี่
และการครอบคลุมของการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐสภาและกรรมาธิการ, ค่าเฉลี่ย
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)