Page 105 - kpiebook63019
P. 105

100






               ของสมาชิกรัฐสภาของกลุ่มเวทีภาคกลาง (กรุงเทพมหานคร) ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยด้านนี้ในภาพรวม และค่าเฉลี่ย

               ด้านความโปร่งใสในการได้มาของสมาชิกรัฐสภาของทุกกลุ่ม ยกเว้น กลุ่มเวทีภาคเหนือ (เชียงราย) ต่ำกว่า
               ค่าเฉลี่ยด้านนี้ ในภาพรวม  สรุปผลได้ดังตาราง 4-6


               ตาราง 4-6  ค่าเฉลี่ยของผลการประเมินรัฐสภาด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน จำแนกผู้ประเมินตาม
               กลุ่มผู้ให้ข้อมูล


                                                            ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   ภาคกลาง     ภาคใต้
                                 ผู้ทรงคุณวุฒิ   ภาคเหนือ (เชียงราย)
                                                                 (อุดรธานี)   (กรุงเทพมหานคร)   (นครศรีธรรมราช)
                 องค์ประกอบย่อย
                                 ค่าเฉลี่ย   S.D.   จำนวนผู้ตอบ   ค่าเฉลี่ย   S.D.   จำนวนผู้ตอบ   ค่าเฉลี่ย   S.D.   จำนวนผู้ตอบ   ค่าเฉลี่ย   S.D.   จำนวนผู้ตอบ   ค่าเฉลี่ย   S.D.   จำนวนผู้ตอบ




                     R1       1.55  0.82  16  2.37  1.01  21  2.24  0.83  22  2.04  0.76  18  2.15  0.71  21
                     R2       2.93  0.91  12  2.97  0.85  17  2.94  0.71  17  2.81  0.45  14  2.97  0.69  13

                     R3       1.50  1.40  14  2.26  1.33  19  1.74  1.1   23  1.72  1.13  18  1.76  1.14  21

                      R       1.85  1.04  15  2.39  1.02  21  2.13  0.74  23  1.93  0.73  19  1.87  0.82  23

                     
 
   4.2.1.3  ผลการประเมินรัฐสภา ด้านการเป็นตัวแทนของประชาชนจำแนกข้อมูลตาม

               กลุ่มอาชีพ

                     
 
 
 
     
   หากพิจารณาผลการประเมินตามกลุ่มอาชีพ พบว่า ผลการดำเนินงานของ

               สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน ในกลุ่มอาชีพนักการเมือง/อดีตนักการเมือง
               มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.14, S.D. = 0.90) ในขณะที่

               กลุ่มอาชีพนักวิชาการ/ภาคประชาสังคม/สื่อมวลชน/อาชีพอิสระอื่น ๆ  มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด โดยมีการดำเนินงาน
               อยู่ในระดับต่ำ (ค่าเฉลี่ย = 1.96, S.D. = 0.90) และ เมื่อวิเคราะห์ตามองค์ประกอบย่อย พบว่า ค่าเฉลี่ยของ
               กลุ่มอาชีพข้าราชการ/อดีตข้าราชการ/เจ้าหน้าที่องค์กรอิสระ สูงกว่าค่าเฉลี่ยในภาพรวมของทุกองค์ประกอบ

               และ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มอาชีพนักวิชาการ/ภาคประชาสังคม/สื่อมวลชน/อาชีพอิสระอื่น ๆ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย
               ในภาพรวมของทุกองค์ประกอบ


                                     นอกจากนี้ มีข้อสังเกตว่า ค่าเฉลี่ยด้านความหลากหลายของสมาชิกรัฐสภา
               ของกลุ่มอาชีพนักการเมือง/อดีตนักการเมือง และ กลุ่มอาชีพนักวิชาการ/ภาคประชาสังคม/สื่อมวลชน/อาชีพ
               อิสระอื่น ๆ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยด้านนี้ในภาพรวม ค่าเฉลี่ยด้านระบบและกลไกการบริหารจัดการของรัฐสภา

               เพื่อสร้างความเสมอภาค ความเท่าเทียมกันในการทำหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาของทุกกลุ่มอาชีพ มีค่า
               ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยด้านนี้ในภาพรวม และค่าเฉลี่ยด้านความโปร่งใสในการได้มาของสมาชิกรัฐสภา

               ของกลุ่มอาชีพนักวิชาการ/ภาคประชาสังคม/สื่อมวลชน/อาชีพอิสระอื่น ๆ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยด้านนี้ในภาพรวม
               สรุปผลได้ดังตาราง 4-7









            การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110