Page 104 - kpiebook63019
P. 104
4
3
2
อดีตนักการเมือง
1
ขาราชการ/อดีตขาราชการ/
0
เจาหนาที่องคกรอิสระ
นักวิชาการ/ภาคประชาสังคม/
I 5 R O นักการเมือง/
A L สื่อมวลชน/อาชีพอิสระอื่น ๆ
99
T
ภาพ 4.6 ค่าเฉลี่ยของผลการดำเนินงานของรัฐสภา ด้านการเป็นตัวแทนประชาชนในภาพรวม
R1
5
4
3 2.1
2
1
0
1.81 2.93
R3 R2
คะแนนเฉลี่ยระดับการ …
โดย R1 คือ ความหลากหลายของสมาชิกรัฐสภา
R2 คือ ระบบและกลไกการบริหารจัดการของรัฐสภาเพื่อสร้างความเสมอภาค ความเท่าเทียมกันในการทำหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภา
R3 คือ ความโปร่งใสในการได้มาของสมาชิกรัฐสภา
4.2.1.2 ผลการประเมินรัฐสภา ด้านการเป็นตัวแทนของประชาชนจำแนกข้อมูลตาม
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
หากพิจารณาผลการประเมินตามกลุ่มผู้ให้ข้อมูล พบว่า ผลการดำเนินงานของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน ในกลุ่มเวทีภาคเหนือ (เชียงราย) มีค่าเฉลี่ยสูง
ที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.39, S.D. = 1.02) ในขณะที่กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ
มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับต่ำ (ค่าเฉลี่ย = 1.85, S.D. = 1.04) และ เมื่อวิเคราะห์
ตามองค์ประกอบย่อย พบว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มเวทีภาคเหนือ (เชียงราย) สูงกว่าค่าเฉลี่ยในภาพรวมของทุก
องค์ประกอบ และ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มเวทีภาคกลาง (กรุงเทพมหานคร) ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยในภาพรวมของทุก
องค์ประกอบ
นอกจากนี้ มีข้อสังเกตว่า ค่าเฉลี่ยด้านความหลากหลายของสมาชิกรัฐสภา
ของกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิและกลุ่มเวทีภาคกลาง (กรุงเทพมหานคร) ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยด้านนี้ในภาพรวม ค่าเฉลี่ย
ด้านระบบและกลไกการบริหารจัดการของรัฐสภาเพื่อสร้างความเสมอภาค ความเท่าเทียมกันในการทำหน้าที่
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)