Page 132 - kpiebook63001
P. 132

114






               เครือข่ายสังคมของตนเป็นจำนวนมากๆ และกระตุ้นให้มีการแชร์ข้อมูลการหาเสียงของตนออกไป ผลปรากฏว่า

                                           63
               ได้คะแนนมาถึง 300-400 คะแนน  เป็นต้น
               ตารางที่ 4.6 แสดงการเปรียบเทียบจำนวนการนำเสนอเนื้อหาบนเฟสบุคเพจ (Facebook Page)

               ของผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2561 – 23 มีนาคม 2562

                                                                            จำนวนครั้ง  จำนวนครั้งของ
                                                                           การนำเสนอ
                                                                   จำนวน               การนำเสนอ คะแนนเสียง
                    ชื่อผู้สมัคร     พรรคที่สังกัด   วันที่เปิดใช้เพจ        กิจกรรม
                                                                   ผู้ติดตาม          นโยบายหาเสียง  ที่ได้รับ
                                                                            การลงพื้นที่    ของพรรค
                                                                            ของผู้สมัคร
                อนุรักษ์ จุรีมาศ 64   ชาติไทยพัฒนา   21 ธันวาคม 2561   3954    76          3        44899

                ตวงรัตน์ วงศ์เวไนย 65   พลังประชารัฐ   22 กรกฎาคม 2561   3711   337        21       18408
                ทินกร อ่อนประทุม 66   ประชาธิปัตย์   16 กันยายน 2554   1718   488          57       7079

                จิราพร สินธุไพร 67   เพื่อไทย      22 ธันวาคม 2561   1519      84          27       58842
                ฉลาด ขามช่วง 68   เพื่อไทย         7 สิงหาคม 2561   1299       13          1        47826

                นิรมิต สุจารี 69   เพื่อไทย        14 สิงหาคม 2561   1005      76          19       37385
                บุญยรัตน์ อาษาศึก 70   รวมพลังประชาชาติไทย  12 มีนาคม 2562   90   16       -         390
                ด.ต.สัมพันธ์ บุตรพรม 71   เสรีรวมไทย   3 ธันวาคม 2561   89     48          7        1708

                ปุณณปวีร์ เขตวิจารณ์ 72   เศรษฐกิจใหม่   30 มกราคม 2562   73   5           71        422


                     กรณีของพรรคอนาคตใหม่ แม้ในภาพรวมของการเลือกตั้งในระดับประเทศจะได้รับการกล่าวถึงในแง่ที่

               คะแนนเสียงที่เป็นผลมาจากพลังของสื่อสังคมออนไลน์ แต่ในกรณีของจังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า แม้ผู้สมัครทุกคน
               จะมีเฟสบุคส่วนตัวแต่ไม่ได้มีความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการทำกิจกรรมรณรงค์หาเสียงหรือเผยแพร่ข่าวสาร
               การเลือกตั้งมากนัก อย่างไรก็ดี แม้จะไม่มีผู้สมัครคนใดของพรรคอนาคตใหม่สร้างเฟสบุคเพจเพื่อเป็นพื้นที่

               ในการรณรงค์หรือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสำหรับการเลือกตั้งดังเช่นตัวอย่างจากผู้สมัครของพรรคการเมืองอื่นๆ
               ดังตารางที่ 4.5 แต่ได้มีการจัดทำเฟสบุคเพจในชื่อพรรคอนาคตใหม่ในระดับจังหวัดขึ้น โดยไม่ได้มีการระบุถึง


               
     63   ปุณณ์ปวีร์ เขตวิจารณ์, อ้างแล้ว.
               
     64   https://www.facebook.com/ANURAKCHUREEMAS101/
               
     65   https://www.facebook.com/t.wongwenai/

               
     66   https://www.facebook.com/thinakorndp/
               
     67   https://www.facebook.com/จิราพร-สินธุไพร-2196117020658199
               
     68   https://www.facebook.com/chalard2499/
               
     69   https://www.facebook.com/niramitsujaree/

               
     70   https://www.facebook.com/บุญยรัตน์-อาษาศึก-635647850204732
               
     71   https://www.facebook.com/ดตสัมพันธ์-บุตรพรม-356545541774251
               
     72   https://www.facebook.com/poonpavee.nep






                     การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดร้อยเอ็ด
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137