Page 69 - kpiebook62002
P. 69
2017 ได้ให้การช่วยเหลือแรงงานต่างด้าวทั้งหมด 57,498 ราย เพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า เมื่อเทียบกับปี 2016 และมี
ช่องทางร้องเรียนต่างๆ อาทิ บริการสายด่วน 4 สาย ส าหรับคุ้มครองแรงงานและให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่ผู้
หางานท า รับเรื่องราวร้องทุกข์ ให้บริการเป็นภาษาประเทศเพื่อนบ้านโดยมีผู้ใช้บริการในปี 2017 มากขึ้นถึง
รวมกว่า 130,000 ราย โดยเป็นการแจ้งเบาะแสการค้ามนุษย์ และน าไปสู่การด าเนินคดีกว่า 60 ราย
ด้าน Prevention มีกลไกที่ใช้ในการรับมือปัญหา ได้แก่ ศูนย์ประสานแรงงานประมงใน 7 จังหวัดน า
ร่อง ได้แก่ สมุทรสาคร ระยอง ตราด ชุมพร สงขลา ระนอง และสตูล และศูนย์แรกรับเข้าท างานและสิ้นสุด
การจ้างจ านวน 4 แห่งตามแนวเขตชายแดน ได้แก่ ตาก สระแก้ว หนองคาย และมุกดาหาร ในเรื่องแรงงาน
บังคับมีมาตรการใหม่หลายด้าน เช่น การออกหนังสือคนประจ าเรือให้กับแรงงานต่างด้าวกว่า 70,600 ราย
การก าหนดให้เจ้าของเรือจัดท าหนังสือสัญญาจ้างจ านวน 2 ฉบับ โดยมอบให้ลูกจ้างเก็บไว้ 1 ฉบับ การ
ก าหนดให้นายจ้างจ่ายค่าตอบแทนเป็นรายเดือนผ่านบัญชีธนาคาร ซึ่งมีแรงงานประมงที่ได้รับค่าตอบแทนผ่าน
บัญชีธนาคารแล้วประมาณเกือบ 5,000 ราย การก าหนดให้การยึดเอกสารประจ าตัวของแรงงานเป็นความผิด
ตามกฎหมายค้ามนุษย์ การออกกฎหมายจัดระเบียบบริษัทจัดหางาน โดยห้ามเรียกเก็บค่านายหน้าจาก
แรงงานและให้บริษัทมาขึ้นทะเบียนอย่างถูกต้องซึ่งมาขอขึ้นทะเบียนแล้วกว่า 100 บริษัท การก าหนด
หลักเกณฑ์ให้แรงงานสามารถเปลี่ยนนายจ้างได้อย่างชัดเจนโดยเฉพาะในภาคประมง โดย ณ สิ้นปี 2017 มี
แรงงานต่างด้าวยื่นขอเปลี่ยนนายจ้างแล้วมากกว่า 100,000 ราย การผ่อนปรนเรื่องบัตรชมพูไม่ให้ยึดติดกับ
นายจ้างและออกกฎหมายห้ามใช้แรงงานอายุต่ ากว่า 18 ปีในเรือประมงและโรงงานแปรรูปอาหารทะเลเมื่อปี
2016 นอกจากนั้นในปี 2017 มีการสั่งปิดโรงงานที่พบการใช้แรงงานเด็กจ านวน 3 โรง และอยู่ระหว่างการ
ด าเนินคดีกับเจ้าของโรงงาน
ศูนย์แรกรับเข้าท างานและสิ้นสุดการจ้างที่จัดตั้งขึ้นนี้ท าหน้าที่จัดอบรมให้ความรู้ในด้านต่างๆ แก่
แรงงานต่างด้าวซึ่งรวมถึงแรงงานในภาคประมง ตรวจคัดกรองว่าแรงงานต่างด้าวมีนายจ้างจริงตรงตามสัญญา
จ้าง ไม่ได้ถูกชักจูง หลอกลวง เฉพาะในปี 2017 ได้จัดอบรมให้ความรู้แก่แรงงานต่างด้าวทั้งหมดกว่า 250,000
ราย พร้อมทั้งแจกเอกสารคู่มือส าหรับแรงงานต่างด้าว ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับประเทศไทย สัญญาจ้าง สิทธิ
ประโยชน์ ความปลอดภัย กฎหมายและข้อห้าม รวมทั้งการขอรับความช่วยเหลือในประเทศไทย
ในเรื่องกฎหมาย ไทยมีจุดมุ่งหมายที่จะแก้ไขปัญหาแรงงานบังคับในภาคประมง โดยอยู่ระหว่างการ
จัดท าร่างพระราชบัญญัติป้องกันและขจัดการใช้แรงงานเกณฑ์หรือแรงงานบังคับ พ.ศ. .... เพื่อรองรับการให้
สัตยาบันพิธีสารภายใต้อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 29 ว่าด้วยแรงงานบังคับ และร่าง
พระราชบัญญัติแรงงานประมง พ.ศ. .... เพื่อรองรับการให้สัตยาบันอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ฉบับที่ 188 ว่าด้วยการท างานในภาคประมงทะเล ในส่วนของอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับ
ที่ 98 ว่าด้วยสิทธิ ในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง ซึ่งในขณะนั้นคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือน
กันยายน 2561 ก่อนด าเนินการเพื่อให้สัตยาบันอนุสัญญาฯ ต่อไป
ในส่วน Partnership ซึ่งเป็น P สุดท้ายในยุทธศาสตร์นั้น ในต้นปี 2019 ไทยประสบความส าเร็จใน
การปลดสถานะ “ใบเหลือง” หรือการหลุดจากรายชื่อกลุ่ม “ประเทศที่ถูกเตือน” (warned countries) ของ
[53]