Page 33 - b28783_Fulltext
P. 33

ภาพที่ 3 การสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ริมฝั่งโขง จังหวัดอุบลราชธานี
                                          (ภาพ: ปิโยรส ปานยงค์เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2563)

                          2.4.8 คลองโยง นครปฐม การปรับตัวสร้างตลาดภายในชุมชน
                            คุณนันทา ประสารวงษ์ ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านคลองโยง-ลานตากฟ้า นครปฐม ที่ท า
                  การผลิตเกษตรยั่งยืนมาได้ระดับหนึ่งพบว่า จากเดิมที่เกษตรกรต้องพึ่งพาตลาดภายนอก ด้วยการตระเวน
                  ขายผลผลิตในที่ต่าง ๆ แต่เมื่อตลาดสีเขียวในเมืองปิดตัวลง ท าให้เกษตรกรขายผลผลิตได้น้อยลง ในขณะนี้
                  ต้องอาศัยการสนับสนุนจากภาคีสังคมที่ช่วยสั่งสินค้าผลผลิตอาหารล่วงหน้า (Pre order) แต่เมื่อไม่ต้อง

                  ออกเดินทางไปภายนอก ก็ท าให้รายจ่ายของชุมชนโดยเฉพาะเรื่องการเดินทาง การขนส่งลดลงเช่นกัน
                           ชุมชนคลองโยงเริ่มปรับตัวด้วยการหันกลับมาเพิ่มการบริโภคสินค้าในชุมชนกันเอง ขยายตลาด
                  ภายในชุมชนให้กว้างขวางขึ้น สินค้าหลายชนิดที่เคยผลิตส่งออก ชุมชนก็เริ่มหันมาซื้อขายบริโภคกันมากขึ้น

                  เช่น  กล้วยน้ าว้า กล้วยหอม ผักสลัด และอื่น ๆ นับเป็นการปรับตัวของชุมชนในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจโควิด
                  ได้ระดับหนึ่ง แต่นี่เป็นเพียงระยะเริ่มต้น ชุมชนคลองโยงก าลังหาจุดตั้งหลักเพื่อสร้างความมั่นคงอาหารของ
                  ครอบครัวและชุมชน และสร้างเศรษฐกิจอาหารท้องถิ่นซึ่งจ าเป็นต้องศึกษาหาทางออกที่เหมาะสมต่อไป





                                                                                                       18
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38