Page 237 - 23154_Fulltext
P. 237

232


               และกองทัพเข้าไปคุมอ านาจน าต่อสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง โดยที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 ได้ขยาย

               ขอบเขตอ านาจวุฒิสภาสู่การควบคุมการประชุมตุลาการรัฐธรรมูญและมีสมาชิกตุลาการรัฐธรรมนูญที่วุฒิสภา
               สามารถเลือกตัวแทนได้โดยตรง จุดพลิกผันที่เป็นปัจจัยแทรกแซงความต่อเนื่องของพลวัตทางอ านาจของวุฒิสภาที่
               เป็นตัวแทนของรัฐราชการในระบบรัฐสภาคือ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ซึ่งปรับระบบวุฒิสภาให้มาจากการเลือกตั้ง

               โดยอ้อม ส่งผลให้ประชาชนทั่วไปที่มีอิธิพลในกลุ่มอาชีพตนเองก็สามารถลงสมัครแข่งขันกับตัวแทนของรัฐราชการ
               ได้เช่นกัน ส่งผลให้รัฐธรรมนูญฉบับถัดมาหลังจากนั้นพยายามแก้โจทย์นี้ด้วยการน าระบบแต่งตั้งกลับมาครึ่งหนึ่ง

               (พ.ศ. 2550) ก่อนที่จะให้ คสช. เลือกทั้งชุดไปพลางก่อนเพื่อระดมทรัพยากรให้พร้อมลงเลือกตั้งโดยอ้อมหลังครบ
               วาระ 5 ปีตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 รวมถึงการน าเอาสถาบันการเมืองเพื่อตรวจสอบทางการเมืองอย่างศาล

               รัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระที่ตั้งขึ้นด้วยเจตนาปฏิรูปการเมืองในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาใช้เป็นเครื่องมือทาง
               การเมืองในการก ากับความสัมพันธ์เชิงอ านาจให้สามารถครอบง าพฤติกรรมทางการเมืองของสภาผู้แทนราษฎร

               ภายใต้สถานการณ์ข้างต้นจากกรณีทั้งสองนี้จึงเป็นข้อพึงกังวลต่อสถานการณ์ของระบอบประชาธิปไตยไทยใน
               อนาคตว่าจะสามารถท าอย่างไรให้ระบบรัฐสภาเป็นสถาบันการเมืองที่ใช้กระบวนการนิติบัญญัติเพื่อตอบสนอง
               เจตจ านงของประชาชนในการเสนอกฎหมายผ่านกระบวนการประนีประนอมด้วยกลไกทางรัฐสภา หรือท าอย่างไร

               จะท าให้ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อหาทางออกจากวิกฤตทางการเมืองได้ด้วยการระดมความคิด
               ร่วมกันมากกว่าจะเป็นการชี้น าทางการเมืองจากชนชั้นน าหรือผู้ครองบทบาทน าทางการเมืองในแต่ละห้วงเวลาแต่

               เพียงฝ่ายเดียว
               รูปแบบของระบบรัฐสภาที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทย

                       พัฒนาการของรูปแบบของระบบรัฐสภาในประเทศไทยนับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24
               มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีลักษณะสลับไปมาระหว่างระบบสภาเดียวและระบบสองสภา และสลับไปมากับห้วงเวลาที่

               ประเทศไทยเป็นประชาธิปไตย มีการเลือกตั้ง และในห้วงเวลาที่อยู่ภายใต้ระบอบเผด็จการทหาร ภายหลังการ
               รัฐประหาร จะเห็นได้จากการมีรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ และเกิดรัฐประหารที่ส าเร็จถึง 13 ครั้ง ในห้วงเวลา 90 ปีของ
               ระบอบประชาธิปไตยไทย

               ตาราง พัฒนาการของรัฐสภาไทยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 ถึงปัจจุบัน

                 ล าดับ           รัฐธรรมนูญ            รูปแบบของระบบ        องค์ประกอบ          หมายเหตุ
                                                            รัฐสภา
                   1       พระราชบัญญัติธรรมนูญการ         สภาเดียว        สภาผู้แทนราษฎร       แต่งตั้ง ส.ส.

                           ปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว                          (มีสมาชิก 2       ชั่วคราว โดย
                                   พ.ศ. 2475                                   ประเภท)        คณะผู้รักษาพระ
                                                                                               นครฝ่ายทหาร
                   2       รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร       สภาเดียว        สภาผู้แทนราษฎร      ส.ส. ประเภทที่

                                     สยาม                                     (มีสมาชิก 2      1 มาจากการ
                                   พ.ศ. 2475                                   ประเภท)         เลือกตั้ง ส่วน
                                                                                               ส.ส. ประเภทที่
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242