Page 225 - 23154_Fulltext
P. 225

220


               ทางการเมืองที่เปิดต่อการมีส่วนร่วมร่างรัฐธรรมนูญ จ านวน 2 ครั้ง ได้แก่ สภาร่างรัฐธรรมนูญ 299 คน จากการ

               เลือกกันเองของสมัชชาแห่งชาติ พ.ศ. 2516 (หรือที่เรียกไม่เป็นทางการว่า สภาสนามม้า) และสภาร่างรัฐธรรมนูญ
               (สสร.) ชุด พ.ศ. 2539 จ านวน 99 คน จากการเลือกตั้งทางอ้อม 76 จังหวัด และตัวแทนสายวิชาการจาก
               สถาบันอุดมศึกษา จากการสังเกตต่อกลุ่มที่ครองบทบาทน าต่อการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญทั้ง 3 กลุ่มในห้วง

               ประวัติศาสตร์ที่ผ่านมากลับสะท้อนให้เห็นว่าตัวแสดงที่ทรงอิทธิพลที่สุดในการยกเลิกรัฐธรรมนูญและประกาศใช้
               ฉบับใหม่ทดแทนคือ กองทัพ ซึ่งเป็นตัวแสดงที่มีอ านาจเหนือการควบคุมระบบการเมืองของรัฐธรรมนูญ ดังที่

               รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (2536) อธิบายว่าเป็น “อนิจลักษณะของการเมืองไทย” ที่ท าให้ผู้น าบางคนสามารถรื้อ
               โครงสร้างเชิงสถาบันได้ตามประสงค์และก าหนดทิศทางของการเมืองการปกครอง แม้กระทั่งรัฐธรรมนูญที่โดย

               หลักการแล้วควรเป็นสถาบันที่ท าหน้าที่ก ากับตัวแสดงทั้งหมด ซึ่งน ามาสู่ข้อสงสัยว่า แล้วปัจจัยใดที่ส่งเสริมหรือ
               สนับสนุนต่อบรรยากาศทางการเมืองที่ให้ความอบธรรมแก่การแทรกแซงการเมืองของกองทัพโดยรัฐธรรมนูญไม่

               สามารถควบคุมตัวแสดงนี้ได้เลย
                       เมื่อสังเกตบริบทของการยกร่างรัฐธรรมนูญ อันดับแรกจึงสังเกตจากตัวแสดงที่รับบทบาทร่างรัฐธรรมนูญ
               ภายใต้การครอบง าของตัวแสดงที่ครองบทบทน าในการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญนั้นกลับสังเกตได้ว่า ตัวแสดงหรือ

               องค์กรที่รับบทบาทร่างรัฐธรรมนูญค่อนข้างที่จะกระจัดกระจายเปลี่ยนกลับไปมา ดังนี้


               ตารางที่ 10.2: ตัวแสดงหรือองค์กรที่รับบทบาทร่างรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ พรบ.ธรรมนูญการปกครองชั่วคราว
               พ.ศ. 2475 – รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560


                                 ตัวแสดงองค์กรที่ยกร่ำงรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ



                     สภาร่างรัฐธรรมนูญ จากการเลือกของกองทัพ  0 0 0  1  0

                 สภาร่างรัฐธรรมนูญ จากการเลือกของสมัชชาแห่งชาติ  1  0 0  1      2
                                คณะกรรมการยกร่าง  0 0  1            2           0

                  ไม่ทราบกลุ่มผู้ยกร่าง แต่อยู่ภายใต้คณะรัฐประหาร  0  1   3                 0 0
                      ที่ปรึกษาทางกฎหมายของคณะรัฐประหาร  0  1       2           0 0

                                  สภาผู้แทนราษฎร              3                 0 0 0 0

                                     คณะราษฎร     1     0 0 0 0

                                            0    0.5    1    1.5    2    2.5    3    3.5    4    4.5
                             คณะราษฎร vs ฝ่ายอนุรักษ์นิยม  กองทัพ vs คณะราษฎร  กองทัพและพลังราชการ vs รัฐบาล
                             กองทัพสืบทอดอ านาจ   พลังภาคประชาชน vs ชนชั้นน าราชการ

               ที่มา: ประมวลโดยผู้วิจัย
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230