Page 23 - 22813_Fulltext
P. 23

17



               โครงสร้างในสภาพที่สังคมไม่มีความเท่าเทียมกันโดยที่คนจนที่ไม่มีอ านาจต่อรองในสังคม จ าต้องยอมรับหรือยอม
               จ านนต่อการถูกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมมาเป็นระยะเวลาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน



               ความขัดแย้งที่ปรากฏขึ้น (Emerging Conflict)
                       หมายถึง สถานการณ์ที่คู่กรณีหรือประเด็นที่คู่กรณีมีส่วนเกี่ยวข้องมองเห็นและรับรู้ว่ามีความขัดแย้ง

               เกิดขึ้นแล้ว โดยอาจมีความตึงเครียดที่เห็นเด่นชัด     แต่อาจจะยังไม่จ าเป็นต้องมีการโต้เถียงกัน การเจรจา หรือ
               การแก้ปัญหาเกิดขึ้น



               ความขัดแย้งที่ปรากฏชัดเจน (Manifest Conflict)
                       หมายถึง สถานการณ์ที่คู่กรณีต่างก็ได้เข้าไปมีส่วนรู้เห็นในความขัดแย้งทีเกิดขึ้นอยู่แล้ว จนเจอกับสภาพ

               ความขัดแย้งที่ไม่มีทางออก
                       พลวัตความขัดแย้งทั้ง 3 ระยะ มีประโยชน์น าไปใช้ในการจัดการความขัดแย้ง ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ การ

               ป้องกัน(prevention) การแก้ไข(resolution) และการเยียวยา(reconciliation) ความขัดแย้ง ดังนั้น การจัดการ

               ความขัดแย้ง จึงควรค านึงถึงพลวัตของความขัดแย้งว่าอยู่ในขั้นตอนใดหรืออยู่ในระดับใดเพื่อจัดการความขัดแย้ง
               ได้อย่างถูกต้อง


               รูปแบบวิธีการที่ใช้ในการจัดการความขัดแย้ง
                       รูปแบบวิธีการที่ใช้ในการจัดการความขัดแย้งมีหลากหลายวิธี อาจสรุปได้ว่ามี 5 แนวทางคือ แข่งขัน

               (Compete)  ยอมตาม (Compliance Your Way)  หลีกหนี (Avoid No Way) ประนีประนอม (Compromise)
               และร่วมมือ (Cooperation) ซึ่งการเลือกใช้แต่และแนวทางส่งผลที่แตกต่างกันและมีความยั่งยืนในการจัดการ
               ปัญหาที่แตกต่างกัน การเลือกใช้แนวทางในการแข่งขัน หลีกหนี ยอมตาม และประนีประนอม มิใช่แนวทางที่ยั่งยืน

               ในการแก้ไขปัญหา และยังไม่สามารถบรรลุถึงความต้องการของทุกฝ่ายอย่างแท้จริง แนวทางที่ทุกฝ่ายต่างก็พึง
               พอใจทั้งคู่และมีความยั่งยืนคือแนวทางการร่วมมือ (Thomas & Kilmann, 1976)

                       การใช้แนวทางใดในการจัดการความขัดแย้งของแต่ละบุคคลขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของปัญหาและ
               อ านาจที่คิดว่าตนเองมี ถ้าคิดว่าตนเองมีอ านาจเหนือกว่า มักจะเอนเอียงไปใช้วิธีการที่ก้าวร้าว ในทางกลับกันถ้า
               หากคิดว่าเขาเป็นฝ่ายเสียเปรียบก็จะเลือกใช้วิธีการอื่น การแข่งขันเป็นการค านึงถึงแต่ผลประโยชน์ของตนเอง โดย

               ไม่ค านึงถึงผลประโยชน์ของผู้อื่น เน้นเป้าหมายของตนเองมากกว่าความสัมพันธ์ การยอมตามเป็นการค านึงถึงแต่
               ผลประโยชน์ของคนอื่น โดยไม่ค านึงถึงผลประโยชน์ของตนเอง เน้นที่ความห่วงใยต่อความสัมพันธ์มากกว่าเป้าหมาย
               การหลีกหนีเป็นการไม่ค านึงถึงทั้งผลประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น เป็นการหลบฉากและการถอนตัวออกจาก
               ประเด็นนั้น แสดงถึงความห่วงใยในเรื่องความสัมพันธ์และเป้าหมายต่ า  การประนีประนอม  เป็นการพยายาม

               ค านึงถึงทั้งผลประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น เป็นการเดินสายกลางระหว่างทั้งเป้าหมายและความสัมพันธ์ หลัก
               ส าคัญคือการหาแนวกลางๆ หรือการแบ่งครึ่ง ส าหรับการร่วมมือเป็นการค านึงถึงทั้งผลประโยชน์ของผู้อื่นและ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28