Page 165 - kpi22228
P. 165

157



               5.2 พัฒนาการการตลาดการเมืองไทย

                       รายงานวิจัยนี้ไดชี้ใหเห็นถึงพัฒนาการการตลาดการเมืองนับแตยุคเริ่มมีการพรรคการเมืองกอนมี
               พระราชบัญญัติพรรคการเมือง 2498 นักการเมืองที่มีความสนใจในประเด็นคลายคลึงกันก็ไดเขารวมกันเปน

               พรรคการเมือง ในยุคแรกนี้มีการประกาศตัวในการสนับสนุนฝกฝายทางการเมืองชัดเจน จนกระทั่ง

               มีพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2498 ซึ่งมีความตื่นตัวทางการเมือง ดังมีการตั้งพรรคการเมืองถึง 60
               พรรค แตพรรคการเมืองไมถูกกํากับดวยกฎหมายมาก ทําใหมีการทุจริตโดยการแจกสิ่งของ เงิน หรือการใหคํา

               สัญญาทางการเมือง การใชอํานาจหรืออิทธิพลฝายรัฐบาลในการโกงการเลือกตั้ง เพื่อเอาชนะการเลือกตั้ง

                       แตการแขงขันทางอํานาจระหวางพรรคการเมืองและผูนําการเมืองที่อยูนอกภาคราชการก็ถูกจํากัด
               บทบาทผานการรัฐประหารและประวิงเวลาใชรัฐธรรมนูญทั้งฉบับชั่วคราวและฉบับถาวร เพื่อดึงเวลาคืนสูการ

               เลือกตั้ง ในชวงที่เปนเผด็จการ แตก็มีการเลือกตั้งในยุคเผด็จการทหารเพียงครั้งเดียวกอนการใชธรรมนูญ

               การปกครอง 2502 และ รางรัฐธรรมนูญจนถึงประกาศใชใน พ.ศ. 2511 ในชวงเวลาดังกลาวมีการตรา
               พระราชบัญญัติพรรคการเมืองใหม จึงมีการตั้งพรรคการเมืองเกิด รวมทั้งจอมพลถนอม กิตติขจรที่เปนหัวหนา

               พรรคสหประชาไทย ซึ่งมีความไดเปรียบในแงตัวบุคคลที่กุมอํานาจ พรรคสหประชาไทยจึงมีผูแยงชิงกันสมัคร

               ในนามพรรค มีการแขงขันระหวางพรรคการเมืองในระดับหนึ่งแตไมปรากฏรูปแบบการแขงขันทางการเมืองใน
               รูปแบบใหม แตพรรคสหประชาไทยก็ไมสามารถตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได ตองอาศัยคะแนนเสียงสนับสนุนจาก

               ส.ส. ไมสังกัดพรรค ซึ่งในเวลาตอมายายมาสังกัดพรรคสหประชาไทย เทากับวารัฐบาลจอมพลถนอมมีอํานาจ

               รัฐบาลแตขาดอํานาจในการควบคุม จนประสบปญหาและตองรัฐประหารตัวเองในที่สุด
                       ภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ซึ่งเปนโอกาสในการออกแบบระบอบการเมืองใหมก็ไดแกปญหา

               พรรคการเมืองและการยายพรรคของ ส.ส. โดยกําหนดให ส.ส. ตองสังกัดพรรคการเมือง แตก็ประสบปญหา

               การขาดเสถียรภาพทางการเมือง แตพรรคการเมืองในเวลานั้นมีจุดยืนทางอุดมการณ
               ทางการเมืองอยางชัดเจน และเริ่มมีนโยบายพรรคการเมืองที่เปนจุดขาย แตไมอาจประเมินผลของนโยบายวา

               ประสบผลสําเร็จ

                       ในยุคประชาธิปไตยครึ่งใบ มีทั้งการใชความรุนแรงทางการเมืองขจัดคูแขงและการแขงขันโดยใชเงิน
               ซื้อเสียง และแทบจะเปนปจจัยชี้ขาด

                       เมื่อผานพนยุคประชาธิปไตยครึ่งใบ การแขงขันทางการเมืองในการเลือกตั้งกลายมาเปนพื้นที่ยิ่งยวด

               ของการแขงขันที่ทําใหคนนอกภาคราชการสามารถเขาไปเปนผูกําหนดนโยบายได พรรคชาติไทยภายใต
               พลเอก ชาติชาย สามารถสรางนโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคาได รัฐบาลผสมจากหลายพรรค

               สามารถสรางสมดุลไดโดยผานการเจรจาผานมุงตาง ๆ และหมุนเวียนกันเขาสูตําแหนงรัฐมนตรี ทําใหสามารถ

               สรางเสถียรภาพทางการเมืองในระดับหนึ่ง แตยังไมสามารถคัดคานกับกองทัพได
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170