Page 162 - kpi22228
P. 162

154



                       ประการที่สอง อดีตและความเปนมาของแตละพรรค ซึ่งพรรคการเมืองเกามีตนทุนเดิมอยู ขณะที่

               พรรคการเมืองหนาใหมที่อิงฐานอํานาจรัฐและรับเอานโยบายกอนหนามาใช ก็จะมีความไดเปรียบกวา
               โดยเฉพาะเปนพรรคที่คนบางสวนใชอํานาจการเมืองก็จะมีความไดเปรียบสูงเปนธรรมชาติ ขณะที่

               พรรคการเมืองหนาใหมจะตองใชกลยุทธที่ไมผิดกฎหมายและเปนนวัตกรรมเพื่อชวงชิงฐานเสียงและชัยชนะ

               ในการเลือกตั้ง
                       ในแงนี้ พรรคการเมืองใหมมีความไดเปรียบกวาพรรคการเมืองเกาในการที่จะเสนอผลิตภัณฑและ

               ขายสินคาในรูปแบบการตลาดไดครบครันกวาพรรคการเมืองเกา

                       แตพรรคการเมืองที่อิงกับอํานาจรัฐ มีทรัพยากรสูง และไมถูกกระหนาบดวยกติกาเหมือนพรรคอื่น
               ยอมมีความไดเปรียบอยางมาก

                       ประการที่สาม กลยุทธและแนวทางการตลาดการเมืองเปนเพียง “สวนเสริม” ในกรอบกติกา

               ที่ไมแขงขันสมบูรณ กลาวคือ หากกติกาไมเสมอภาค การปฏิบัติไมเสมอหนา ก็ยอทําใหเกิดความไดเปรียบ
               เสียเปรียบในการแขงขันตั้งแตแรก

                       ประการที่สี่ กลยุทธการตลาดการเมืองและความสามารถในการใชเทคโนโลยีสามารถสรางนวัตกรรม

               ทางการเมือง และสามารถเปดชองชัยชนะไดอยางมีนัยสําคัญ
                       ประการที่หา ฐานของผูมีสิทธิเลือกตั้ง อายุ เพศและวัย เปนปจจัยที่แทจริงที่พรรคการเมืองจะตอง

               นํามาวิเคราะหฐานเสียงความนิยมของตัวเอง ในกลุมพรรคการเมืองที่เปนพรรคเกาแก อาจจะตองการขาย

               พรรคและผูสมัครในฐานะผลิตภัณฑทางการเมือง แตในกลุมพรรคการเมืองหนาใหม ก็อาจจะตองใชการตลาด
               การเมืองเขามาชวย และอาศัยตลาดเฉพาะกลุม ซึ่งเปนชองทางแหงชัยชนะ

                       ดังนั้น การหาตัวแบบทางการตลาดการเมืองที่สัมฤทธิ์ผลนั้นจําเปนจะตองคํานึงถึงปจจัยภายในพรรค

               การเมืองนั้นเอง การวางตัวเองใน “ตลาดแขงขันทางการเมือง” วาเปนตลาดแขงขันสมบูรณ หรือเปนตลาด
               กึ่งแขงขันที่มีขอจํากัดจากกติกาการการแขงขัน หรือสภาวะการผูกขาดทางอํานาจประกอบกันดวย

                       ปจจัยทางการตลาดการเมืองเปนเพียง “ปจจัยหนึ่ง”ที่ทําใหพรรคการเมืองสามารถเอาชนะ

               การเลือกตั้งได ในแงอุดมคติ การตลาดการเมืองในตลาดแบบแขงขันสมบูรณเปนตลาดในอุดมคติที่กลยุทธ
               การตลาดจะถูกใชเพื่อเขาถึงความนิยมของผูมีสิทธิออกเสียงและลงคพแนนให เพื่อสงมอบผลิตภัณฑในสถาบัน

               การเมืองคือสภาผูแทนราษฎรและสามารถสงผลิตภัณฑนโยบายของพรรคการเมืองเพื่อสนองตอบประชาชน

               ผูเลือกพวกเขาไปได แตในความเปนจริงระบบนิเวศนของการสรางนโยบายทางการเมืองมีความซับซอน
               มากกวานั้น จึงตองคํานึงและตระหนักอยูตลอดเวลาวาการตลาดการเมืองเปนเพียงกลยุทธหนึ่งในการเอาชนะ

               การเลือกตั้งเทานั้น
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167